Page 42 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 42

8-32 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ไทย

เรื่องท่ี 8.2.1
วรรณกรรมมุขปาฐะท่ีส�ำคัญ

       วรรณกรรมมุขปาฐะ หมายถึง วรรณกรรมทมี่ กี ารบอกเล่าสบื ต่อกนั มาโดยใชก้ ารจดจ�ำแบบปาก
ตอ่ ปากจากคนรนุ่ หนง่ึ ไปสคู่ นอกี รนุ่ หนง่ึ ไมไ่ ดม้ กี ารบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เชน่ นทิ านพนื้ บา้ น (นทิ าน
กอ้ ม นทิ านประจำ� ถิน่ นิทานอธบิ ายเหตุ นทิ าปรัมปรา) เพลงพ้นื บ้าน (เพลงกลอ่ มเด็ก เพลงปลอบเด็ก
เพลงประกอบการละเลน่ ของเดก็ ) ภาษติ คำ� พงั เพย (ผญาภาษติ ผญาเกยี้ ว ผญาอวยพร) ปรศิ นาคำ� ทาย
เปน็ ตน้ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ประเภทมขุ ปาฐะเปน็ วรรณกรรมทพี่ บมากและมคี วามหลากหลาย ดงั ท่ี จารวุ รรณ
ธรรมวตั ร (2537, น. 7) ไดอ้ ธบิ ายไวว้ า่ วรรณกรรมมขุ ปาฐะเปน็ วรรณกรรมถา่ ยทอดทท่ี ำ� ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง
ทกุ เพศ ทกุ วยั ทกุ ระดบั ความรู้ ลกั ษณะการถา่ ยทอดขน้ึ อยกู่ บั ความทรงจำ� หรอื ความสามารถของผถู้ า่ ยทอด
ถึงแมว้ า่ ภาคอีสานจะมภี าษาเขยี นแลว้ ก็ตาม แต่ชาวบา้ นโดยทว่ั ไปกย็ งั นิยมวรรณกรรมมุขปาฐะมากกว่า
เพราะเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ใชเ้ พยี งความจำ� และประสบการณ์ แตก่ ม็ กี ารสรา้ งสรรคค์ วบคกู่ นั กบั วรรณกรรมลายลกั ษณ์
มาตลอด

       ชาวอสี านมวี รรณกรรมมขุ ปาฐะทจ่ี ดจำ� เลา่ สบื กนั ตอ่ มาจำ� นวนมาก ทงั้ ทเี่ ปน็ นทิ าน ตำ� นานพน้ื บา้ น
ปริศนาค�ำทาย ส�ำนวนภาษิต และเพลงพื้นบ้าน ซ่ึงความเหมือนหรือความต่างกันของเน้ือหาขึ้นอยู่กับ
ความทรงจ�ำสติปัญญา ประสบการณ์หรือความสามารถของผู้ถ่ายทอด อาจท�ำให้เร่ืองเดียวกันมีลักษณะ
ไม่คงท่ี บางส�ำนวนส้ัน บางส�ำนวนยาว บางส�ำนวนมีเร่ืองราวท่ีแทรกอยู่หรือมีการเปล่ียนแปลงเน้ือหา
เปน็ ตน้ ซง่ึ วรรณกรรมมขุ ปาฐะเหลา่ นเี้ ปน็ มรดกทางภมู ปิ ญั ญาของสงั คม ทจี่ ดจำ� สบื ทอดกนั มาจากคนยคุ หนงึ่
ผา่ นสคู่ นอกี ยคุ หนงึ่ แบบปากตอ่ ปาก โดยไมส่ ามารถหาตน้ กำ� เนดิ ของเรอ่ื งหรอื ผแู้ ตง่ ไมไ่ ด้ แตต่ อ่ มาระยะหลงั
เม่อื ระบบการการจดบันทกึ ง่ายข้ึน เรอ่ื งราวเหล่าน้ันจงึ ไดม้ ีคนรนุ่ หลังได้บนั ทึก อาจเขียนขน้ึ ตามเคา้ เดมิ
ทเี่ คยเลา่ ดว้ ยปากเปลา่ หรอื นำ� มาปรงุ แตง่ ตามฉนั ทลกั ษณท์ อ้ งถน่ิ ไดเ้ ขยี นบนั ทกึ ไวจ้ นกลายเปน็ วรรณกรรม
ลายลักษณ์ ซ่งึ ยากทจ่ี ะแยกออกจากกันใหช้ ัดเจนได้ วรรณกรรมมขุ ปาฐะของภาคอสี านทค่ี วรจะกล่าวถงึ
ไดแ้ ก่

1. 	 ค�ำทวย (ปริศนาค�ำทาย)

       คำ� ทวย หรอื ปรศิ นาคำ� ทาย เปน็ วรรณกรรมพนื้ บา้ นอสี าน ทนี่ ยิ มเลน่ กนั ระหวา่ งบคุ คลในครวั เรอื น
โดยเฉพาะเด็กๆ นั่นคือรนุ่ พีเ่ ล่นกับรุ่นนอ้ ง และจดจ�ำสบื ทอดกันตอ่ มา ใช้เล่นกันระหว่างกลุ่มชนในสงั คม
เดยี วกัน หรอื ในกลุ่มบคุ คลทใี่ กลช้ ิดกัน เชน่ เครือญาติ มติ รสหาย โดยม่งุ ทีจ่ ะทดสอบเชาวน์ปัญญาและ
สนุกสนานด้วย ซง่ึ มีทง้ั ข้อความสน้ั ๆ และข้อความขนาดยาว ดงั ตัวอย่างเช่น

       “ด�ำแล้วขาว แม่นหยัง?”	 	 	 	 	 	 (ผม)
       “ยาวแล้วสน้ั แม่นหยัง?”		 	 	 	 	 (สายตา)
       “หมน้ั แล้วหลอ่ น แม่นหยัง?”	 	 	 	 	 (ฟัน)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47