Page 45 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 45
วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ภาคอสี าน 8-35
ความปากหวานอย่จู ้อยๆ ใจสม้ จัง่ หมากนาว
(ความหมาย: ต่อหนา้ พูดจาดี ไพเราะออ่ นหวาน แตค่ วามจรงิ กลับไมม่ ีความจรงิ ใจ)
ใหฟ้ งั ทหี่ ู ให้ดูทตี่ า ให้พจิ ารณาท่ีใจ
(ความหมาย: ให้เป็นคนท่ีมีสติรอบคอบ อย่าหลงเช่ืออะไรง่ายๆ ต้องฟัง ต้องดู ต้องคิด
พิจารณาอยา่ งถีถ่ ว้ น)
ได้ใหม่ลืมเก่า ไดเ้ ตา่ ลมื หมา ได้ปลาลมื แห ไดแ้ พรลมื ผา้ ได้หน้าลืมหลัง
(ความหมาย: อย่าเป็นคนลืมบุญคุณ )
(ยอ้ น = เพราะ ขาน = กล่าวตอบ/ตอบรับ วาน = รอ้ งขอ/ขอความชว่ ยเหลอื ,
ซอ่ ย = ชว่ ย พา = ภาชนะใส่อาหาร/ส�ำรับ บท่ อ่ = ไมเ่ ทา่
ผญา = ปัญญา ปมู = ท้อง/พงุ เดกิ = ดกึ
แก่ = ลาก/ดงึ ส้ม = เปรย้ี ว จัง่ หมากนาว = เหมอื นกบั มะนาว)
2.3 ผญา คือส�ำนวนภาษิตท่ีเป็นปรัชญา เพื่อแสดงถึงภูมิความรู้และสติปัญญาของผู้พูดที่ชาว
อีสานนิยมใช้พูดจากัน ค�ำผญาน้ันจะมีลักษณะสัมผัสคล้องจองกัน ฟังแล้วไพเราะร่ืนหู อาจเป็นร้อยแก้ว
เป็นกาพย์หรือเปน็ กลอนกไ็ ด้ แตม่ คี วามหมายลมุ่ ลกึ และมักเก่ยี วข้องวิถชี ีวติ และปรัชญาการดำ� เนินชวี ิต
ผู้ฟังอาจต้องใช้สติปัญญาพิจารณาเพ่ือที่จะเข้าใจทั้งความหมายตามตัวอักษรและความหมายแฝงเร้นใน
ขอ้ ความหรอื ถอ้ ยคำ� นน้ั ๆ เนอ้ื หาของผญานนั้ มหี ลากหลาย ซง่ึ ประมวล พมิ พเ์ สน (2545, น. 7) ไดแ้ บง่ ไว้
6 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ผญาสภุ าษติ 2) ผญาเก้ยี ว 3) ผญาค�ำสอน 4) ผญาปรชั ญา 5) ผญาปริศนา และ
6) ผญาเบ็ดเตล็ด
1) ผญาสุภาษติ ตวั อยา่ งเชน่
เจา้ ผู้มคี วามฮ ู้ เตม็ พุงเพียงปาก
สอนโตเองบ่ได ้ ไผสิย้องวา่ ดฯี
(ความหมาย: ถึงจะมคี วามรมู้ ากเพยี งใด แต่ไม่สามารถสอนตัวเองได้ ก็ไม่มีใครยกย่อง)
สบิ สลึงอยูฟ่ ากน้ำ� อยา่ ได้อ่าวคะนิงหา ฟา้ ว = รบี )
สองสลึงมามือ ให้ฟา้ วกำ� เอาไว้ฯ
(ความหมาย: ไมค่ วรหวงั ส่งิ ของไกลตวั พึงยนิ ดใี นสิ่งที่ตนหาได้)
(ยอ้ ง = ยกย่อง โต = ตนเอง อา่ วคะนิง = คดิ คำ� นงึ /คดิ ถงึ
2) ผญาเกย้ี ว (ค�ำท่หี นมุ่ สาวพดู เกี้ยวพาราสกี นั ) ตวั อยา่ งเชน่
(ชาย) ผจู้ บจงั่ น้อง ผงู้ ามจ่ังนอ้ งมีเจา้ ของแล้วหรือบ่
(หญิง) อา้ ยเอย้ นอ้ งนป่ี อดออ้ ยซอ้ ยเสมอออ้ ยกลางกอ กาบบห่ อ่ หนอ่ น้อยกะบซ่ อน