Page 47 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 47
วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคอสี าน 8-37
4) ผญาปรัชญา ตวั อยา่ งเช่น
ยามเมอ่ื เฮอื คาแก้ง เกวยี นเห็นใหเ้ กวียนแก่
บาดวา่ ไปฮอดน้�ำ เฮือสิไดแ้ ก่เกวยี นฯ
(ความหมาย: ใหพ้ ึ่งพาอาศัยและช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน)
คันเจา้ ไดข้ ชี่ ้าง อยา่ สะว่าโตสูง
เหลียวเหน็ ฝงู หมูหมา ไก่กาบ่มงี ้อ
บาดห่าตกคอชา้ ง ลงมาทางลา่ ง
หมาสแิ หน้ กระดูกขา้ ง ตีนช้างสเิ หยยี บคอฯ
(ความหมาย: เมอ่ื ไดด้ บิ ไดด้ อี ยา่ ลมื ตวั บางครง้ั เมอ่ื เดอื ดรอ้ นตกระก�ำลำ� บากอาจจะถกู ผคู้ น
เหยียดหยามซำ�้ เติม)
(แก้ง = โขดหนิ ทก่ี น้ั ทางน้ำ� แก่ = ลาก/ดงึ บาดวา่ = พอเมือ่
ฮอด = ถึง อย่าสะวา่ = อยา่ คิดวา่ แหน้ = แทะ)
5) ผญาปรศิ นา ตวั อย่างเชน่
อัศจรรยใ์ จแข ้ หางยาวๆ บไ่ ด้ฮองนั่ง
บาดกระต่ายหางแปๆ บาดกระแตหางก้อมๆ สงั มาได้น่ังฮองฯ
(คำ� แปล: เปน็ ทน่ี า่ อศั จรรยใ์ จยง่ิ นกั จระเขห้ างยาวๆ ไมไ่ ดเ้ อารองนงั่ แตก่ ระตา่ ยหางบางๆ
กระแตหางสั้นๆ ทำ� ไมไดเ้ อารองน่งั :
หมายความวา่ ผู้มีความรทู้ เี่ ลา่ เรียนมามาก ไมส่ ามารถช่วยเหลอื ตวั เองได้ แตต่ รงกันขา้ ม
ทผี่ ู้เล่าเรียนมานอ้ ย แต่สามารถประกอบอาชีพท�ำงานเล้ียงชพี และประสบความสำ� เร็จในชีวติ ได้)
กวางกนิ หมากขามปอ้ ม ผัดไปคาคอมง่ั
คันวา่ มัง่ บข่ ี้ สามม้ือกระต่ายตาย
กระตา่ ยตายแลว้ เหนอ้มกะเน่านำ� ฯ
(คำ� แปล: กวางกนิ มะขามปอ้ ม ไปตดิ กน้ ละมง่ั ถา้ ละมงั่ ไมถ่ า่ ยอจุ จาระ สามวนั กระตา่ ยตาย
เมือ่ กระต่ายตายแล้วอเี หนกลบั เนา่ ดว้ ย :
หมายความว่า ลูกหลานกระทำ� ความผดิ มผี ลกระทบถึงพอ่ แม่ผ้ปู กครอง ถ้าไม่สามารถแก้
ปัญหาได้ ไม่ก่ีวนั ก็จะเป็นปัญหากระทบไปถงึ ญาตพิ ี่น้อง เดือดรอ้ นไปกนั หมด)
หอยกาบก้ี ฮู้ปากคอื คน
ปลาซวิ มเี ขา ไลช่ นควายบา้ ฯ
(ค�ำแปล: หอยกาบหอยกี้พูดได้เหมือนคน ปลาซิวมีเขาไล่ขวิดควายบ้า : หมายความว่า
ผตู้ ่�ำต้อยหรอื ผู้สงู ศกั ด์ิ ก็มีสิทธิเสรภี าพ และมีความเปน็ มนษุ ยเ์ สมอภาคเหมือนกัน)
(ม่งั = ละมง่ั ฮอง = รอง แป = แบน เหนอ้ม = อีเหน,
กะเน่าน�ำ = กเ็ น่าดว้ ยกนั ฮู้ = รู้ ปาก = พดู )