Page 43 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 43

วรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน 8-33

“ฟาดไปท่อไฮน่ า ฟาดมาท่อกอ้ นเสา้ แมน่ หยัง?”	                (แห)
“แตน่ ้อยนงุ่ ซน่ิ เขียว ใหญข่ น้ึ มาใส่ซนิ่ แดงแมน่ หยัง?”	  (พริก)
“ซุกๆ นำ�้ ออก ยอกๆ นำ�้ มา อาปากข้ึนตาเหลอื กมา่ นๆ แม่นหยัง?”	 (คนแปรงฟนั )
“ผูไ้ ปกอ่ นถางทาง ผูอ้ ยู่กลางง้างปัวะ ผนู้ ำ� กน้ บไ่ ข้กะคราง แมน่ หยงั ?”	 (ควาย, ไถ, คนไถนา)
“หาบบ่หนกั ตกั บเ่ ตม็ เค็มบจ่ ืด มดื บ่แจง้ แมน่ หยงั ?”	    (สติปัญญา)
(แม่นหยัง = คืออะไร	 หม้นั = คงทน/มัน่ คง 	 ซิน่ = ผ้าถุง 	 บ่ = ไม)่

2. 	 ส�ำนวนภาษิต

       ส�ำนวนภาษิตของอสี านน้ัน มลี ักษณะเป็นคำ� ประพันธ์ เม่อื กลา่ วโดยละเอียดแล้ว อาจแบง่ ได้ 3
ชนิดไดแ้ ก่ ญาบเวา้ โตงโตย และผญา

       2.1 	ญาบเว้า คือส�ำนวนพูดที่ส้ันๆ บางครั้งก็มีสัมผัส บางคร้ังก็ไม่มีสัมผัส เป็นกลุ่มค�ำที่เป็นวลี
หรอื บางคร้งั เป็นประโยคเปรียบเทียบ อุปมาอปุ มยั ทมี่ ีเน้อื หาเนน้ การสงั่ สอน ดังตวั อยา่ งเชน่

            ปล่อยเอี่ยนลงตม
            (ความหมาย: ปลอ่ ยศตั รหู รอื โจรผรู้ า้ ยใหเ้ ปน็ อสิ ระ แลว้ เขาอาจกลบั มาทำ� รา้ ยหรอื กอ่ ความ
เดือดร้อนให้อีก)

นกเค้าท้วงตาแม่
(ความหมาย: มองไม่เห็นโทษของตนเอง แตค่ นอนื่ ทำ� บา้ งกลบั มองเหน็ และวา่ คนอืน่ เขา)

คะล�ำน�้ำกินต่อน
(ความหมาย: เกลียดเขาแตอ่ ยากได้ผลประโยชนจ์ ากเขา)

กนิ ขา้ วโตอยา่ โสความเพน่ิ
(ความหมาย: กนิ ข้าวตวั เอง อยา่ ไปตำ� หนติ ิเตียนคนอ่นื )

กนิ มำ� ๆ บค่ ล�ำเบิ่งทอ้ ง
(ความหมาย: กินไมร่ ู้จักประมาณ)

แก่ไมท้ างปลาย
(ความหมาย: ฝนื ใจท�ำในสิง่ ท่ไี มอ่ ยากท�ำหรอื ไมช่ อบใจ, ฝืนท�ำในสิง่ ท่ที ำ� ยาก)

                           เป็นต้น

(เอ่ียน = ปลาไหล 		 นกเคา้ = นกฮูก  	                         ท้วง = ทกั / ทักท้วง
คะลำ�  = ผิด/ บาป/ ผดิ จารีตประเพณี 	 	                       ต่อน = ชิ้น	
โส = พดู คยุ กนั /สนทนา   กินมำ� ๆ = กินไมห่ ยดุ 	            เบ่งิ   = ดู แก่ = ลาก/ ดึง)
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48