Page 38 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 38

8-28 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย

เมื่อท้าว	  คึดฮ่�ำฮู้	                ปดคาบยามใด
งามคือ	     ด่ังอินทร์แปง	             ดั่งพระจันทร์เพ็งแจ้ง
คือด่ัง	    อินทร์ทงย้อง	              วิมานทองผาสาท
คาบท้าว	    ไลลดไว้	                   งามย้อยดั่งพระอินทร์	 นั้นแล้ว
   	        	                          (พระอริยานวุ ัตร, 2513, น. 8)

           ตวั อย่างฉากบรรยายภาพของเมืองเป็งจาล ในเรอื่ งสงั ขศ์ ลิ ป์ไชย ท่กี ลา่ วว่ามคี นมากมายอยู่
กนั คับคั่งมากประมาณพนั ลา้ นคน (ตอ้ื = พันลา้ น) และบา้ นเมืองอดุ มสมบรู ณส์ วยงามเหมอื นกันสวรรค์
ชั้นดาวดงึ ส์ ดังข้อความว่า

ยังมี	 นัคเรศล้�ำ 	                    ช้ันชื่อเป็งจาล
	 มีคนหลาย	                            ค่ังเพ็งพอต้ือ
	 เซียงหลวงล้น 	                       รุงรังล้านย่าน
	 น้�ำแผ่ล้อม	                         ระวังต้ายซ่ัวพัน
	 ฮุ่งค�่ำเช้า	                        ชาวเทศเทียวสะเภา
	 อุดมโดย	                             ดั่งดาวดึงส์ฟ้า
		                                     (พระอริยานวุ ตั ร, 2531, น. 1)

       2.2 	อปุ ลกั ษณ์ (metaphor) คอื ภาพพจนร์ ปู แบบหนงึ่ ทกี่ ลา่ วเปรยี บโดยตรงระหวา่ งสง่ิ ทมี่ คี ณุ สมบตั ิ
ร่วมบางประการของของสองสงิ่ หรือมากกวา่ นนั้ โดย (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2552, น. 569) เป็นการนำ� เอา
ลักษณะเด่นของส่ิงหน่ึงไปใช้กับส่ิงหนึ่ง หรือการเปรียบว่าส่ิงหนึ่งเป็นอีกส่ิงหนึ่งโดยมีลักษณะการเปรียบ
เทียบท่คี ลา้ ยกับอุปมาแต่ไมม่ ีค�ำเชอื่ ม บางครั้งใชค้ ำ� วา่ “เปน็ ” “คอื ” อปุ ลักษณ์นจี้ ะมีความหมายลึกกวา่
อปุ มา ดงั ตวั อยา่ งในวรรณกรรมเรอ่ื ง ผาแดงนางไอ่ ตอนทชี่ าวหวั เมอื งตา่ งๆ นำ� บง้ั ไฟมารว่ มงานบญุ บงั้ ไฟ
ของเมอื งขนุ ขอม และหนมุ่ ชาวหวั เมอื งพดู หยอกลอ้ กบั สาวชาวเมอื งขนุ ขอม สาวชาวเมอื งขนุ ขอมไดม้ กี าร
เปรยี บจติ ใจของผ้ชู ายทีห่ วน่ั ไหวง่าย เบาเหมอื นปุยนุ่น ถูกลมพดั พาปลิวไปตามลมไดง้ า่ ย ดงั ขอ้ ความว่า

            แนวใจชายนี้	               หากปลิวไปคือนุ่น
            ลมมาพัดต้อง	               ปลิวข้ึนสู่ลม แท้นา
            	                          (พระอริยานวุ ตั ร, 2524, น. 63)

       วรรณกรรมเรอื่ ง พญาคนั คาก ตอนทพ่ี ระยาเอกราชสอนพญาคนั คากไมใ่ หน้ อ้ ยเนอื้ ตำ่� ใจทเ่ี กดิ มา
มรี ูปรา่ งน่าเกลียดเหมือนคางคก โดยการเปรียบคุณค่าของคนที่มีคณุ ธรรมหรือคุณงามความดีเหมือนกับ
ทองคำ� ท่อี ยูไ่ หนกย็ งั เป็นทองอยู่ ซ่ึงตรงกับสำ� นวนไทยว่า ผ้าขี้รว้ิ หอ่ ทอง ดังข้อความว่า
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43