Page 34 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 34

8-24 ภาษาถ่นิ และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย
เปน็ การเน้นความส�ำคญั ของนทิ าน เพื่อใหป้ ระชาชนศรทั ธาเล่ือมใสในจริยาวตั รอนั ดีงามของตวั ละครเอก
ในเรอื่ งและนำ� มาเปน็ แบบแผนในการดำ� เนนิ ชวี ติ ซง่ึ เปน็ กศุ โลบายในการสอนจรยิ ธรรมแกผ่ คู้ นในสงั คมอสี าน
อกี ทางหนง่ึ

กิจกรรม 8.1.3
       1. 	จงอธบิ ายลกั ษณะเนอื้ เรอื่ งของวรรณกรรมท้องถิน่ อีสานใหเ้ ขา้ ใจพอสงั เขป
       2. 	จงอธิบายสาเหตทุ ่ีเนื้อเร่ืองวรรณกรรมท้องถน่ิ อสี านมกั จะเตม็ ไปดว้ ยอภนิ ิหารเพราะเหตุใด
       3. 	จงอธบิ ายสาเหตทุ ่เี นอ้ื เร่อื งวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ อีสานแต่มักจะถกู แตง่ ให้เหมือนกับวรรณกรรม

ชาดกในทางพุทธศาสนา
แนวตอบกิจกรรม 8.1.3

       1. 	เน้ือเรื่องวรรณกรรมนิทานอีสานมักเป็นเนื้อเรื่องท่ีไม่ซับซ้อน ด�ำเนินไปตามล�ำดับเวลา และ
มักจะเต็มไปด้วยอภินิหารในการต่อสู้กับฝ่ายอธรรมด้วยอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์ พระเอกมักต้องพลัดพราก
จากเมืองจากชายา เพ่ือแสดงให้เห็นถึงกฎแห่งกรรมท่ีสร้างร่วมกันมาแต่ชาติปางก่อน และในท่ีสุดก็ได้
พบกนั และกลบั ไปปกครองบา้ นเมืองโดยสนั ติสขุ

       2. 	เนื้อเร่ืองของวรรณกรรมอีสานท่ีเต็มไปด้วยอภินิหารเพราะผู้แต่งต้องการสื่อให้เห็นบุญบารมี
ของตวั ละครเอกของเรอ่ื งในการตอ่ สกู้ บั อธรรมดว้ ยอทิ ธฤิ ทธป์ิ าฏหิ ารยิ ์ ซงึ่ อาจไดจ้ ากพระอนิ ทรม์ อบใหม้ า
แตก่ ำ� เนดิ หรอื มอบใหเ้ พอื่ ตอบแทนหลงั จากตวั ละครเอกไดท้ ำ� คณุ งามความดที งั้ ในชาตปิ จั จบุ นั และอดตี ชาติ
เป็นการสื่อให้ผู้อ่านเห็นถึงผลของการท�ำความดีท่ีมักมีผู้อื่นคอยช่วยเหลือเสมอ หรือมักรอดพ้นจาก
ภยนั ตรายเสมอ	

       3. 	สาเหตทุ เี่ นอ้ื เรอ่ื งวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ อสี านมกั จะแตง่ เปน็ เรอ่ื งเหมอื นกบั วรรณกรรมชาดกของ
พุทธศาสนาเพราะผู้แต่งต้องการเน้นให้เห็นความส�ำคัญของนิทาน เพื่อให้ประชาชนศรัทธาเลื่อมใสใน
จริยาวัตรอันดีงามของตัวละครเอกในเร่ืองและน�ำมาเป็นแบบแผนในการด�ำเนินชีวิต ซ่ึงเป็นกุศโลบายใน
การสอนจริยธรรมแกผ่ ู้คนในสังคมอีสาน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39