Page 29 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 29

วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคอสี าน 8-19
       3) 	วรรณกรรมนิทาน เปน็ วรรณกรรมทมี่ จี ำ� นวนมาก และมเี นอ้ื หาทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะของทอ้ งถน่ิ
และมกี ารรบั มาจากทอ่ี นื่ แลว้ นำ� มาปรบั เปลยี่ นใหเ้ ขา้ กบั วถิ วี ฒั นธรรม คา่ นยิ มและคตคิ วามเชอื่ ของทอ้ งถน่ิ
เชน สินไซหรือสังขศิลป์ชัย สุริยวงศ์ การะเกด นางผมหอม ผาแดงนางไอ่ ขูลูนางอั้ว ท้าวก�่ำกาด�ำ
กําพรา ผีนอย ไกแ่ ก้ว เสียวสวาด จำ� ปาสตี่ ้น พระลกั พระลาม เป็นต้น
       4) 	วรรณกรรมคําสอน เป็นวรรณกรรมที่มีเนื้อหาสอนใจ ส่ังสอนแนวทางการด�ำเนินชีวิตใน
ครอบครัวและสังคม โดยยึดคติธรรมในศาสนาและคติความเช่ือจารีตท้องถ่ินเป็นส�ำคัญ บางเรื่องอาจมี
ตัวละคร บางเรื่องอาจไมม่ ตี ัวละคร เชน ธรรมดาสอนโลก ทา วคาํ สอน พระยาคำ� กองสอนไพร่ ชนะสนั ทะ
ย่าสอนหลาน ปสู่ อนหลาน ฮตี สิบสองคองสิบสี่ เปนตน
       5) 	วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด คือวรรณกรรมที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ชัดเจนเหมือนวรรณกรรม 4
ประเภทข้างต้น ส่วนมากจะเป็นวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและพิธีกรรมต่างๆ เชน บทสูตรขวัญ
(บทสขู่ วญั ) กลอนลำ�  กลอนสรภญั ญ์ ผญา คำ� เซง้ิ นทิ านกอ ม ความทวย (ปรศิ นาคำ� ทาย) ตลอดถงึ ตำ� รา
ต่างๆ เช่น ตำ� ราโหราศาสตร์ ตำ� ราปลกู เรอื น ต�ำรายา เวทมนตรค์ าถา เปน ตน
       อยา งไรกต็ าม การแบง ประเภทวรรณกรรมอสี านตามหมวดหมเู่ นอื้ หาดงั กลา วอาจยงั ไมค รอบคลมุ
ทงั้ หมดเนอื่ งจากวรรณกรรมอสี านมลี กั ษณะผสมผสาน นนั่ คอื มเี นอ้ื หาเกยี่ วเนอ่ื งกนั หลายสาระในเนอ้ื เรอื่ ง
เดียวกัน เชน เร่ืองผาแดงนางไอ่ อาจจัดเป็นวรรณกรรมประวัติศาสตรหรือเปนนิทานชาดกก็ได  หรือ
วรรณกรรมพทุ ธศาสนากบั วรรณกรรมนทิ านกไ็ มส่ ามารถแบง่ แยกประเภทออกไดอ้ ยา่ งชดั เจน เพราะผแู้ ตง่
พยายามทจี่ ะประพนั ธว์ รรณกรรมนทิ านใหม้ รี ปู แบบอยา่ งวรรณกรรมพทุ ธศาสนาหรอื แตง่ เลยี นแบบชาดก

2. 	 โครงเรื่องและเน้ือเรื่องของวรรณกรรม

       โครงเรอ่ื งของวรรณกรรมอสี านนน้ั ในสว่ นของนทิ านพน้ื บา้ นจะคลา้ ยคลงึ กนั กบั นทิ านจกั รๆ วงศๆ์
ของนิทานพน้ื บา้ นไทยท่วั ไป ซ่ึง ศิราพร ณ ถลาง (2548, น. 358) ได้สรุปโครงเรอื่ งหรอื แนวเร่อื งแบบ
จกั รๆ วงศๆ์ วา่ มีลักษณะ “ลักลูกสาวยักษา พากันจร แลว้ ยอ้ นกลบั มาฆ่าพอ่ ตาตาย” หรือ “เรียนวชิ า
ฆ่ายักษ์ ลักนาง” และพระเอกมักเกิดจากความอิจฉาริษยาแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกันระหว่างมเหสีเอกและ
มเหสรี อง จนสง่ ผลใหพ้ ระเอกตอ้ งถกู ขบั ไลอ่ อกจากเมอื งในทส่ี ดุ และอาจไดช้ ายาอกี หลายคนตามสถานที่
ตา่ งๆ ทพ่ี ระเอกเดนิ ทางผา่ น ซง่ึ การวางโครงเรอื่ งแบบถกู ใสร่ า้ ยแลว้ (อาจเพราะเกดิ มาผดิ แผกจากคนอนื่
หรือมีส่ิงอ่ืนๆ บังเกิดมาพร้อมกับการเกิดของตัวละครเอก) จึงต้องพลัดพรากจากเมือง เป็นโครงเรื่องที่
นิยมมากที่สุด เชน่ เรื่องสงั ข์ศิลป์ชัย สุวรรณสงั ข์กมุ าร (สงั ข์ทอง) จ�ำปาส่ตี ้น การะเกด สุรยิ วงศ์ พระลัก
พระลาม เป็นต้น

       สว่ นเน้ือเรอื่ งของวรรณกรรมอีสานจะเตม็ ไปดว้ ยอภินหิ ารเพอ่ื จะแสดงให้เหน็ ถึงบุญญาธกิ ารของ
ตวั ละครเอกของเร่ืองในการตอ่ สู้กบั ฝา่ ยอธรรมด้วยอทิ ธิฤทธ์ปิ าฏหิ าริย์ ซึง่ ได้จากพระอินทรม์ อบใหม้ าแต่
กำ� เนดิ หรอื มอบใหเ้ พอ่ื ตอบแทนหลงั จากทำ� คณุ งามความดขี องตวั ละครเอก หรอื เปน็ เรอ่ื งทเ่ี มอื่ ตวั ละครเอก
ก�ำลังประสบภัยพิบัติต้องร้อนถึงพระอินทร์ท่ีจะต้องลงมาช่วยเหลือให้พ้นภัยด้วยการมอบของวิเศษหรือ
คาถาอาคม เพ่อื ใช้ปราบอธรรม เช่น ยักษ์ ทพิ ยาธร สตั ว์ร้ายต่างๆ แลว้ ได้ชายา เมอ่ื จะกลับบ้านเมือง
ก็อาจต้องพลัดพรากจากชายาต้องออกตามหากันเป็นการสร้างปมพลัดพรากคร้ังท่ีสองระหว่างพระเอก
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34