Page 27 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 27

วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคอีสาน 8-17
  สิกขาบทสบิ ประการ ครนั้ ว่าวสั สากาลพอซาวถว้ นแลว้ เจ้าจงึ ไปหาพนี่ อ้ งบอกพวกพอ้ งตามศรทั ธา 
  บางคนได้ผ้าคลุมแลห่มนอน ท้ังจีวรแลผ้าพาดลางพ่องได้โถนบาตรแลผ้าสบง กับทั้งถงแลธรรม
  กรก ไม้เท้าทองแลตาลปัตรทั้งเข็มขัดแลเกิบตีน ทั้งดินสอใส่ในบาตรกับทั้งเครื่องส�ำหรับบริโภค
  ถ้วยโตกน้�ำเต้าแลคนที เหล็กจารดีมีดพร้าเส่ือสาดอาสนา ท้ังพลูยาแลเม่ียงหมาก ดูหลากล้นเคร่ือง
  บริวาร เจตนาทานอันประเสริฐ เพ่ือให้พ้นจากโทษทุกขเวทนา สวัสดีทีฆายุกาวัฑฒะนา ขอให้
  มีอายุยืนยาวบ่น้อย ให้ได้ฮ้อยขวบเข้าเทียระฆา จัตตาโร ธัมมา อันว่าธรรมทงั้ หลายสด่ี วงนี้ คอื วา่
  อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ จงเจรญิ รกั ษาในขนั ธสนั ดานแกเ่ จา้  ตราบตอ่ เทา่ หา้ พนั วสั สา สิทธิไชยะโชค
  สิทธิโยคพร้อมลักขณา ฝูงข้าทั้งหลายจักกระท�ำขวัญเจ้านาค เจ้าอย่าได้หลงใหลอยู่ในเถ่ือน เจ้าอย่า
  ได้เป็นเพ่ือนฝูงผี ครั้นได้ยินว่อน ๆ เสียงชะนีแลไก่แก้ว ขันแจ้ว ๆ เจ้าอย่าได้หลงฟัง เจ้าอย่าได้ไป
  ชมผีป่าหมู่เสือสิงห์ฮ้ายทรพี เจ้าอย่าได้ไปชมหมู่หมีแลแฮดช้าง อย่าได้ไปกล่าวอ้างภูผา ท้ังหนอง
  ปลาแลห้วยใหญ่ สานใส่สามาน ดูตระการงามสะภู่ ผักบุ้งหมู่บัวทอง ทรงเกสรหอมห่วงเฮ้า	
  ใส่พานขวัญเจ้ามาอยู่สอนลอน ฝูงข้าทั้งหลายกระท�ำขวัญอวยพรแก่เจ้า คร้ันว่าเจ้าเป็นชีให้ได้เป็น
  เจ้าวดั เจ้าสกึ ออกมาเปน็ คฤหัสถใ์ ห้ได้เป็นนายคน ให้มผี ู้ถอื ถาดหมากแลคนั โท บญุ เฮยี งโตเมื่อหนา้  
  ให้มีคนเลี้ยงข้าววันละสองสามคาบ ยามเมื่อเจ้ายัวระยาตรย้ายไปมา ให้มีคนแหนแห่เจ้าอย่าได้ขาด
  ด้วยบาทพระคาถาว่า ชะยะตุภะวัง ชะยะมังคะลัง นิพพานะปัจจะโย โหตุ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล

                                               (จนิ ดา ดวงใจ และบุญ ปรปิ ณุ โณ, 2544, น. 1-3)
       จากตัวอย่างจะเห็นว่า ร่ายหรือฮ่ายท่ีประพันธ์เป็นบทสูตรขวัญนั้น ผู้ประพันธ์จะไม่ได้เคร่งครัด
เหมือนร่ายในภาคอ่ืนๆ ซ่ึงแต่ละช่วงแต่ละวรรคอาจมีการสัมผัสกัน หรือไม่สัมผัสกันก็ได้ และจ�ำนวนค�ำ
ก็ไมเ่ ทา่ กนั เสมอไปมุ่งเน้นเน้อื หาเป็นสำ� คญั

กิจกรรม 8.1.2
       1. 	จงอธิบายลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน และมีความนิยมในการใช้

ค�ำประพนั ธ์ชนิดใดมากทีส่ ุดเพราะเหตใุ ด
       2. 	จงอธิบายฉันทลักษณ์ของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสานกับฉันทลักษณ์ของวรรณกรรม

ภาคกลางท่ีเหน็ ไดเ้ ดน่ ชดั
แนวตอบกิจกรรม 8.1.2

       1.	 ลักษณะค�ำประพนั ธ์หรือฉนั ทลกั ษณข์ องในวรรณกรรมภาคอสี านซึ่งเปน็ ที่นิยม มีอยู่ 3 ชนิด
ไดแ้ ก่ โคลงสารหรอื กลอนอา่ น กาพย์ และรา่ ย (ฮา่ ย) โดยโคลงสารเปน็ ฉนั ทลกั ษณท์ นี่ ยิ มมากทส่ี ดุ เพราะ
เหมาะกบั การอา่ นท�ำนองล�ำของทอ้ งถิน่ อีสาน ซึง่ เปน็ ทชี่ นื่ ชอบของคนอสี าน

       2. 	ฉันทลกั ษณว์ รรณกรรมภาคอสี าน จะไม่เครง่ ครัดในเรอ่ื งกฎเกณฑ์มาก เชน่ จ�ำนวนคำ�  อาจ
มีเพ่ิมค�ำเสริมส่วนหน้า และค�ำสร้อยส่วนหลัง ไม่เคร่งครัดในวรรณยุกต์ และไม่เคร่งครัดในการสัมผัส
ส่วนฉันทลักษณข์ องวรรณกรรมภาคกลางของไทยจะเครง่ ครัดในเรอื่ งเหลา่ นี้
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32