Page 32 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 32

8-22 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย
  แล ขอแก่พระพุทธเจ้าจงเทศนาอันเป็นอตีตะข้ามล่วงแล้วให้ฝูงข้าท้ังหลายได้ฮู้แจ้งแด่ก็ข้าเทิน	
  ว่าดังนั้น เมื่อน้ันพระพุทธเจ้าได้ยินยังถ้อยค�ำแห่งเจ้าภิกขุทั้งหลายหากขอราธนา  พระพุทธเจ้าจ่ิง
  น�ำเอามายังพระลามชาดกมาเทศนาแก่ภิกขุทั้งหลายว่า...
                                                       (สมัย วรรณอุดร, 2556ก, น. 37)
       2) 	อดีตวัตถุ เป็นองค์ประกอบทสี่ ำ� คัญท่ีสดุ เนอ่ื งจากเป็นการเลา่ เรอ่ื งทง้ั หมดในชาติ กาลก่อน

ของพระโพธสิ ตั วท์ พี่ ระพทุ ธเจา้ นำ� มาเทศนาใหแ้ กภ่ กิ ษสุ งฆฟ์ งั โดยเนอ้ื หาทเ่ี ลา่ จะกลา่ วถงึ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ
ทเี่ กดิ ขนึ้ ในเรอื่ ง ตลอดถงึ พฤตกิ รรมของตวั ละคร อดตี วตั ถมุ กั จะขน้ึ ตน้ ดว้ ยคำ� ภาษาบาลวี า่ “อตเี ต กาเล”
แล้วมคี �ำไวยากรณห์ รือคำ� แปลอย่ขู า้ งหลังวา่ “ในกาละเมอ่ื ล่วงแลว้ ” ดงั เนอ้ื ความต่อไปน้ี

         อะตีเต กาเล ในกาละเมื่อล่วงแล้วคือว่ากาละอันจักต้ังยังภัทรกัปแห่งเฮานี้ ยังมีพรหมสอง
  ผัวเมียลงมาแต่ช้ันฟ้าอักกะนิฏฐาเพ่ือว่าจักกินยังโอชารสแผ่นดินอันหอมน้ันอ่ิมแล้วก็มีเนื้อตนอัน
  หนักมากนักบ่อาจจักทะยานขึ้นสู่ชั้นฟ้าอักกะนิฏฐาภายบนพุ้นได้ พรหม 2 ผัวเมียนั้นก็ลวดปลูก
  อย้าวแปงเฮือนในทิศก้�ำใต้แคมน้�ำสมุทรที่น้ันห้ันแล…

                                                       (สมัย วรรณอุดร, 2556ก, น. 37)
       3) คาถา เป็นองค์ประกอบส่วนย่อยของวรรณกรรม คือ ถ้อยค�ำภาษาบาลี หรือวาจาประกอบ
ปจั จบุ นั วตั ถแุ ละอดตี วตั ถุ คาถาหรอื คำ� ภาษาบาลนี น้ั จะมกี ารใชเ้ ปน็ ระยะๆ โดยสว่ นมากจะเปน็ คำ� รอ้ งเรยี ก
หรอื คำ� ทกั ทาย และคำ� สรรพนามซงึ่ อยใู่ นบทสนทนากนั ของตวั ละคร คาถาทป่ี รากฏเปน็ ระยะตลอดทง้ั เรอื่ งนี้
น่าจะเป็นขนบนิยมของการแต่งวรรณกรรมประเภทร้อยแก้วของอีสานที่ผู้แต่งพยายามอ้างว่าวรรณกรรม
เรอ่ื งนเ้ี ปน็ ชาดกหรอื อรรถกถาชาดกในวรรณกรรมพทุ ธศาสนาเพอื่ สรา้ งความศรทั ธาเชอ่ื มนั่ แกผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั
ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

         เมอื่ นนั้ นางกวนนาหลวงผเู้ ปน็ เมยี กเ็ หน็ ผวั ตนมหี นา้ อนั โศกเศรา้ โศกาสนั นนั้ นางจงิ่ ถามวา่  
  สามิ ข้าแก่เจ้ากูตนเป็นผัวฮักแก่ผู้ข้า เจ้ากูไปไถนาในวันนี้เป็นดังลือจ่ิงมาโศก เศร้าโศกา มีหน้าตา
  อันบ่ชมชื่นยินดีน้ันก็ข้าจา  ฮู้ว่าเจ้ากูเป็นพยาธิโรคาแลไข้หนาวบ่ส�ำบายในจิตในใจแห่งเจ้ากูนั้นก็
  ข้าจา เม่ือนั้นกวนนาหลวงจ่ิงกล่าวเซ่ิงเมียแห่งตนว่า ภัทเท ดูรานาง อะหัง อันว่ากูพี่ ก็บ่เป็นพยาธิ
  โรคาแลไข้หนาวเจ็บหัวมัวตาแก่กูพี่จักอันแลนา…

                                                        (สมัย วรรณอดุ ร, 2556ก, น. 47)
       นอกจากน้ี ค�ำภาษาบาลที เี่ ป็นคาถายงั พบวา่ มกั จะปรากฏในค�ำทบ่ี อกกาลเวลา ดงั ตวั อย่างเช่น

         ระติยา ในเมื่อราตรีคืนอันนั้นแลฮุ่งสายสุริยะพุ่งข้ึนมาเป็นเวลามื้อใหม่แล้ว…
                                                       (สมยั วรรณอดุ ร, 2556ก, น. 39)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37