Page 25 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 25
วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคอีสาน 8-15
ตวั อยา่ งวรรณกรรมเร่อื ง สังขศ์ ลิ ปช์ ยั
เม่ือน้ัน กุมารเจ้า ทั้งหลายฮ้อนเฮ่ง
ขึ้นสู่ห้อง หอแก้วพ่อตน
(พระอริยานุวตั ร, 2531, น. 108)
2. กาพย์
กาพย์หรือเรียกตามภาษาถิ่นอีสานว่า “กาบ” เป็นฉันทลักษณ์อีสานอีกชนิดหน่ึงที่นิยมน�ำมา
ประพันธ์วรรณกรรมค�ำสอน เป็นวรรณกรรมส้ันๆ เป็นส่วนมาก เช่น กาพย์พระมุนี กาพย์ปู่สอนหลาน
กาพยห์ ลานสอนปู่ เปน็ ตน้ และนยิ มนำ� มาเปน็ คำ� เซง้ิ จงึ มกั เรยี กวา่ กาพยเ์ ซงิ้ โดยมแี บบแผนเปน็ ลกั ษณะ
เฉพาะทอ้ งถิน่ (ไมเ่ คร่งครดั มากนกั ) ดังน้ี
2.1 คณะ ไม่กำ� หนดจำ� นวนบททแ่ี น่นอน โดยบทหนง่ึ มี 4 วรรค วรรคหน่ึงมี 7 คำ� หรือ 8 ค�ำ
(ส่วนมากมี 7 ค�ำ และนิยมแบ่งเปน็ ตอนหน้า 3 คำ� ตอนหลงั 4 คำ� ) และคำ� สดุ ทา้ ยของวรรคท่ี 1 จะส่ง
สัมผัสไปยงั คำ� ในวรรคต่อไปจนกวา่ จะจบความ) ไมน่ ยิ มคำ� สร้อย
2.2 เสียงเอก-โท ไมก่ ำ� หนดใหม้ ีค�ำเสียงเอก-โท เหมอื นโคลงสาร
2.3 สมั ผสั นยิ มสมั ผสั สระ คำ� ทา้ ยของบาทแรกจะสมั ผสั กบั คำ� ในวรรคตอ่ ไป (คำ� ท่ี 1-3) เปน็ เชน่ น้ี
จนกวา่ จะจบ
ตัวอย่างวรรณกรรมเรื่อง กาพย์พระมุนี
โอมพุทโธ นโมเป็นเค้า
ข้อยซิเว้า กาพย์พระมุนี
พระมุนี อยู่หัวเป็นเจ้า
เว้าเมือหน้า ยังกว้างกว่าหลัง
(พระอรยิ านวุ ัตร, 2533, น. 2)
3. ร่าย
ร่ายหรือภาษาอีสานออกเสียงว่า “ฮ่าย” ในภาคอีสานน้ันเหมือนกับร่ายยาว นิยมใช้ประพันธ์
วรรณกรรมพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะวรรณกรรมชาดกคอื แปลภาษาบาลเี ปน็ ภาษาถิ่นอสี าน และสมั ผัสกนั
แบบร่ายยาว ฉะน้ัน ชาดกตา่ งๆ จงึ มักประพันธ์เป็นรา่ ยยาว ทีเ่ รยี กวา่ “บาลรี อ้ ย” เช่น มหาชาติ หรอื
ลำ� พระเวส (มหาเวสสนั ดรชาดก) มาลยั หมนื่ มาลยั แสน หรอื วรรณกรรมนทิ านคตธิ รรม (ชาดกนอกนบิ าต)
และวรรณกรรมพน้ื บา้ นหลายเรอื่ งนอกเหนอื จากประพนั ธเ์ ปน็ โคลงสารแลว้ ยงั ปรากฏฉบบั ทป่ี ระพนั ธแ์ บบ
รา่ ยอกี ด้วย เชน่ สนิ ไซ นางแตงออ่ น พระลักพระลาม ปลาแดกปลาสมอ เปน็ ตน้ ซึ่งวรรณกรรมทน่ี ิยม
ประพันธ์เป็นร่ายน้ันมักจะมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เทศน์ จึงนิยมประพันธ์แนวชาดกท่ีมีบทบาลีมาแทรกเป็น