Page 23 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 23

วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคอสี าน 8-13
       อกั ษรทงั้ 2 คอื อกั ษรธรรมและอกั ษรไทยนอ้ ย เดมิ ชาวอสี านไดใ้ ชเ้ ขยี นบนั ทกึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ของ
ท้องถิ่นเสมอมา ครั้นเมื่อรัฐบาลไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาจากส่วนกลางให้ทุกคนเรียน
ภาษาไทย เรยี นตัวอักษรไทยในระบบโรงเรยี นต้ังแตช่ ว่ งรชั กาลท่ี 6 เปน็ ต้นมา ท�ำให้ตวั อกั ษรธรรมและ
อกั ษรไทยนอ้ ยลดบทบาทลง และผู้คนในภาคอีสานกเ็ รมิ่ ลมื ตัวอกั ษรทอ้ งถ่ินของตนไปในท่สี ุด ในปจั จบุ ัน
ยงั พบว่ามีเอกสารใบลานจ�ำนวนมากในภาคอีสาน ทบี่ นั ทึกดว้ ยตวั อกั ษรท้งั สองแบบและเก็บรกั ษาไวต้ าม
วัดต่างๆ แตห่ าผู้ทีส่ ามารถอ่านได้น้อยมาก

กิจกรรม 8.1.1
       1. 	จงอธบิ ายลกั ษณะและพฒั นาการของอกั ษรธรรมอสี าน ความแตกตา่ งระหวา่ งอกั ษรธรรมอสี าน

และอักษรธรรมลา้ นนา
       2. 	จงอธบิ ายลกั ษณะและพฒั นาการของอกั ษรไทยนอ้ ย และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ อกั ษรลาวในสาธารณรฐั

ประชาธิปไตยประชาชนลาวอย่างไร
       3. 	จงอธิบายสถานภาพและความส�ำคัญของอักษรธรรมอีสานและอักษรไทยนอ้ ยในปจั จบุ นั

แนวตอบกิจกรรม 8.1.1
       1. 	อกั ษรธรรมอสี านมรี ปู ลกั ษณะกลมมนคลา้ ยกบั อกั ษรธรรมลา้ นนาหรอื ตวั เมอื ง อาจจะแตกตา่ ง

บางตวั อกั ษรธรรมอสี านไดร้ บั อทิ ธพิ ลและสบื ทอดมาจากอกั ษรธรรมลา้ นนา ซง่ึ มพี ฒั นาการมาจากอกั ษร
มอญโบราณแหง่ อาณาจกั รหรภิ ญุ ชยั อกั ษรธรรมอสี านและอกั ษรธรรมลา้ นนามคี วามแตกตา่ งดา้ นจำ� นวน
ตัวอักษรซึ่งอักษรธรรมล้านนาจะมีมากกว่าและได้เพ่ิมเคร่ืองหมายวรรณยุกต์และเคร่ืองหมายต่างๆ เข้า
มา สว่ นอกั ษรธรรมอสี านไมไ่ ดเ้ พ่มิ แต่อาจพบวา่ มีการเพมิ่ วรรณยุกตใ์ นยคุ สมยั หลงั

       2. 	อักษรไทยน้อยมีลกั ษณะสูงเรยี ว มีอกั ขรวธิ เี หมือนกับอักขรวิธีอักษรไทย และมอี กั ขรวิธีของ
อกั ษรธรรมปะปนอยบู่ างสว่ น อกั ษรไทยนอ้ ยมพี ฒั นามาจากอกั ษรไทยสมยั สโุ ขทยั ผสมผสานกบั ตวั อกั ษร
ฝักขามของอาณาจักรล้านนาที่และได้พัฒนารูปแบบอักษรเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนและกลายเป็น
ตน้ แบบของอกั ษรลาวในปัจจบุ ัน

       3. 	อกั ษรธรรมอสี านและอกั ษรไทยนอ้ ยในปจั จบุ นั เรม่ิ ลดบทบาทลง เมอื่ รฐั บาลไทยไดป้ ระกาศใช้
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาจากสว่ นกลางใหท้ กุ คนเรยี นภาษาไทย และปจั จบุ นั ผคู้ นในภาคอสี านกเ็ รม่ิ ลมื ตวั
อกั ษรท้องถิ่นของตนไป ไมม่ กี ารใช้และมผี อู้ า่ นออกเขยี นได้นอ้ ย เหลอื ให้เหน็ เพยี งในเอกสารโบราณของ
ภาคอีสาน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28