Page 48 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 48

8-38 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

6) ผญาเบด็ เตล็ด (ผญาทไ่ี ม่สามารถจัดอยู่ใน 5 ประเภทข้างตน้ ) ตวั อยา่ งเชน่
    คาดสิได้บนิ มาคอื นกเจ่า	 คาดสิบไ่ ดบ้ นิ เจย้ เจิดหนีฯ

(คำ� แปล: เมอ่ื ถงึ คราวจะได้ บนิ มาเหมอื นกบั นกกระยาง เมอื่ ถงึ คราวจะไมไ่ ด้ บนิ โฉบถลาหน)ี

         เวา้ ไปหลาย	 	 มันยาวมันยดื
         เปดิ พุ่มไม	้ 	 ไปหนา้ แห่งหลายฯ
(ค�ำแปล: พูดมากเรอ่ื งยิ่งยืดยาว เปดิ ดูตามพมุ่ ไมไ้ ปขา้ งหน้าย่ิงมมี าก)

                     สบิ ปลี ้�ำซาวปีล�้ำ	 	 บ่เหน็ กวางมายามม่ัง
                     เขา้ ขน้ึ เลา้ 	 	 จ่งั เหน็ เจ้าเทื่อเดียวฯ
            (ค�ำแปล: สิบปีผ่านไป ย่ีสิบปีผ่านไป ไม่เห็นกวางมาเย่ียมละม่ัง เมื่อเอาข้าวขึ้นยุ้งฉางจึง
เหน็ หนา้ ครั้งหน่งึ )

         บุญบใ่ ห้		 	 ยอยไฮกะบห่ ยอ่ น
         บุญบใ่ ห	้ 	 	 แสนสใิ กลก้ ะเลา่ ไกล
(คำ� แปล: บุญไมม่ ี รากไทรยงั ไมห่ ยอ่ นลง บญุ ไมม่ แี มจ้ ะใกล้ก็เหมอื นไกล)

(คาดสไิ ด้ = เมือ่ ถงึ คราวจะได้ 	     บนิ เจ้ยเจดิ หนี = บินถลาหนีไป
แห่งหลาย = ย่ิงมาก 	 	                 ซาว = ยีส่ บิ 	 	 ยาม = เย่ยี ม
เขา้ = ข้าว		 	 	                      จัง่ เหน็ = จงึ ไดเ้ ห็น)

3. 	 เพลงพื้นบ้านภาคอีสาน

       ภาคอสี านเปน็ แหลง่ รวมวฒั นธรรมของกลมุ่ ชนถงึ 3 กลมุ่ ชนซง่ึ มภี าษาพดู และวฒั นธรรมแตกตา่ ง
กนั มาก ฉะนน้ั เพลงพนื้ บา้ นจงึ มี 3 กลมุ่ ตามวฒั นธรรม คอื 1) กลมุ่ วฒั นธรรมไทย-ลาว 2) กลมุ่ วฒั นธรรม
เขมร-สว่ ย 3) กลมุ่ วฒั นธรรมไทยโคราช ในทน่ี จี้ ะกลา่ วเฉพาะเพลงพน้ื บา้ นภาคอสี านหรอื กลมุ่ วฒั นธรรม
ไทย-ลาวซง่ึ เปน็ กลมุ่ ใหญท่ สี่ ดุ โดยจะแบง่ เพลงพน้ื บา้ นของกลมุ่ ชนนอี้ อกเปน็ 2 ประเภทคอื เพลงพนื้ บา้ น
ประเภทล�ำและเซ้ิง และเพลงพืน้ บา้ นประเภทเพลงเดก็

       3.1 	เพลงพื้นบ้านประเภทล�ำและเซิ้ง เพลงพน้ื บา้ นภาคอสี านทเี่ ปน็ การละเลน่ ของผใู้ หญท่ วั่ ไปที่
ส�ำคญั ซึ่งเป็นที่นิยม มี 2 ชนดิ คอื 1) ลำ�  และ 2) เซงิ้

            3.1.1 	ล�ำ หรือหมอล�ำ เปน็ เพลงพนื้ บา้ นทนี่ ยิ มมากในภาคอสี าน เมอ่ื พจิ ารณาจากลกั ษณะ
ธรรมเนยี มการเล่น เน้อื ร้อง และท�ำนองแล้ว อาจะแบง่ ได้ 5 ประเภท คือ 1) หมอลำ� กลอน เป็นการแสดง
พนื้ บา้ นทตี่ ง้ั เปน็ วงคณะ คณะหนง่ึ จะมหี มอลำ� คฝู่ า่ ยชายและหญงิ ฝา่ ยละ 1 คน เปน็ อยา่ งนอ้ ย เครอ่ื งดนตรี
จะมแี คนและหมอแคน 1 คน (อาจจะมพี ณิ ดว้ ย ปจั จบุ นั มเี ครอ่ื งดนตรคี ลา้ ยกบั วงดนตรที ว่ั ไป) สว่ นเนอื้ หา
ทรี่ ้องล�ำจะเป็นเรอ่ื งเก้ยี วพาราสีกนั และใชโ้ วหารลกู เล่นเพือ่ ความสนกุ สนานของผ้ฟู ัง 2) หมอลำ� พ้ืน หรือ
ล�ำเรือ่ ง เปน็ การล�ำเร่อื งนทิ านพ้นื บ้าน บางคร้งั กน็ ำ� เน้ือเร่ืองฉบับเตม็ มาจากหนงั สือผกู ใบลาน โดยทว่ั ไป
ไม่มีดนตรีประกอบ ผู้ฟังมุ่งท่ีจะฟังนิทานที่อ่านเป็นท�ำนองเสนาะ 3) หมอล�ำหมู่ คือหมอล�ำที่ปรับปรุง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53