Page 49 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 49

วรรณกรรมท้องถิน่ ภาคอสี าน 8-39
การเลน่ เปน็ การแสดงไดป้ รบั ปรงุ ใหม้ กี ารเจรจา แสดงทา่ ฟอ้ นรำ�  แตง่ กายเหมอื นลเิ ก มฉี ากประกอบ และ
มดี นตรเี หมอื นกบั วงดนตรที ว่ั ไป 4) หมอลำ� เพลนิ ไดว้ วิ ฒั นาการเปน็ การแสดงใหม่ โดยมคี ณะเลน่ เหมอื น
ดนตรีลูกทุ่ง มกี ารแตง่ กายเตน้ เป็นหางเคร่ือง ใช้แคนเป็นดนตรีหลัก แตก่ ม็ เี คร่ืองดนตรสี มัยใหมเ่ พ่ิมเตมิ
อีกมากมาย ท�ำนองร้องใชเ้ พลงหลายแบบ หลายชนดิ (หลายลาย) และปรับเนือ้ รอ้ งใหม่ 5) หมอลำ� ผีฟ้า
หรือล�ำผีฟ้าผีแถน เปน็ การลำ� ในพิธกี รรมรักษาโรค โดยปกติประกอบดว้ ย หมอแคน หมอลำ�  และลกู มอื
หมอล�ำ เนื้อร้องจะกลา่ วเชิญผีฟ้าใหม้ ารกั ษาโรคผูป้ ่วย

            ส่วนท�ำนองลำ� หรือเรยี กตามภาษาถน่ิ วา่ “ลาย” ท่นี ยิ มกนั มี 4 ลายด้วยกัน โดยปกตแิ ล้ว
หมอล�ำจะน�ำมาล�ำสลับกันไปตามเนื้อร้อง เพ่ือก่อให้เกิดความสนุกสนานแก่ผู้ฟัง ในการแสดงหมอล�ำคืน
หนึ่งๆ จะใช้ท�ำนองทั้ง 4 ลายสลับกันไป ได้แก่ ท�ำนองล�ำทางสั้น (เป็นท�ำนองแบบไม่เอ้ือนเสียงยาว)
ทำ� นองลำ� ทางยาว (เดมิ เรยี กกลอนอา่ นหนงั สอื ผกู เปน็ ทำ� นองทเ่ี ออื้ นเสยี งยาว จงั หวะลลี าชา้ ) ทำ� นองลำ� เตย้
(เปน็ กลอนทำ� นองสนั้ กระฉบั กระเฉงและเออื้ นเสยี ง) และทำ� นองลำ� เพลนิ (คลา้ ยทำ� นองทางสน้ั แตจ่ งั หวะ
เรว็ กว่า)

            3.1.2 	เซิ้งหรือล�ำเซ้ิง ค�ำว่า “เซ้ิง” หมายถึง การฟ้อนร�ำ  และหมายถึงท�ำนองเพลงชนิด
หนงึ่ ของภาคอีสาน เรียกว่า ลำ� เซ้งิ นยิ มแตง่ เป็นคำ� กาพย์ เรียกวา่ กาพย์เซ้งิ โดยท่วั ไปลำ� เซ้ิงนน้ั จะเปน็
เพลงสนุกสนาน สว่ นใหญ่จะแห่เป็นขบวนฟอ้ นร�ำกันไป มตี ้นเสียงรอ้ งน�ำ ซ่ึงนิยมด้นกลอนสด ผู้ท่อี ยู่ใน
ขบวนแหจ่ ะเป็นลูกครู่ ้องตาม เซิ้งทัว่ ไปมี 3 แบบ คือ 1) เซิ้งบงั้ ไฟ 2) เซง้ิ เต้านางแมว 3) เซงิ้ เต้านางด้ง
เซง้ิ ทร่ี จู้ กั กันมาก คือเซ้ิงบ้ังไฟ คือ การฟอ้ นร�ำน�ำขบวนแห่งบ้ังไฟ หรืออาจจะมกี ลุ่มยอ่ ยๆ เซง้ิ (ฟ้อนรำ� )
ไปตามกลมุ่ บคุ คลทมี่ าชมงานเพอ่ื ขอปจั จยั ทำ� บญุ กม็ ี สว่ นคำ� เซงิ้ นน้ั มกั จะเปน็ คำ� เชญิ ชวนใหท้ ำ� บญุ คำ� อวยชยั
ใหพ้ ร หรอื การเซงิ้ เลา่ นทิ านชาดกตามแตโ่ อกาส ในสว่ นของคำ� เซงิ้ บง้ั ไฟมกั จะมคี วามหมายเชงิ หยาบโลนบา้ ง

       3.2 	เพลงพนื้ บา้ นประเภทเพลงเดก็ เพลงพน้ื บา้ นประเภทเพลงเดก็ ในภาคอสี าน ไดม้ กี ารสบื ทอด
กันมาช้านาน โดยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่งผู้ร้องคนแรก เพลงเด็กในภาคอีสานนั้นเป็นเพลงที่ให้ความ
บนั เทงิ ใจแกผ่ รู้ อ้ งและคนในครอบครวั รวมทง้ั ผทู้ อ่ี ยใู่ กลช้ ดิ ในสงั คมดว้ ย นอกจากนี้ เพลงเดก็ พนื้ บา้ นอสี าน
ยงั ใชภ้ าษาถนิ่ อสี าน ฉนั ทลกั ษณท์ ้องถน่ิ รวมท้งั เน้อื หาเกย่ี วเนอ่ื งด้วยสภาพแวดล้อมของทอ้ งถ่ินอกี ดว้ ย
เพลงพ้ืนบ้านประเภทเพลงเด็กในภาคอีสาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เพลงกล่อมเด็กหรือเพลง
กล่อมลูก เพลงปลอบเดก็ และเพลงประกอบการละเล่นเด็ก

            3.2.1 เพลงกล่อมเด็กหรือเพลงกล่อมลูก บางถิ่นเรียกว่าเพลงกล่อมหรือเพลงนอนสาหล้า
เปน็ เพลงสำ� หรบั กลอ่ มใหล้ กู นอนหลบั และเปน็ การสง่ เสยี งใหล้ กู ทราบวา่ มแี มพ่ อ่ หรอื ผใู้ หญอ่ ยใู่ กลๆ้ ขณะ
ทนี่ อนหลบั ไมไ่ ดอ้ ยเู่ พยี งตวั คนเดยี ว อนั เปน็ การใหค้ วามอบอนุ่ แกเ่ ดก็ เลก็ ๆ สว่ นเนอ้ื รอ้ งนนั้ มหี ลากหลาย
สำ� นวนแตกตา่ งกนั ออกไปแลว้ แตล่ ะคนจะสรรคส์ รา้ งคำ� หรอื เนอ้ื หาสว่ นมากจะเกยี่ วกบั วถิ ชี วี ติ ทอ้ งถนิ่ แต่
กม็ เี นอื้ หาท่ใี กล้เคยี งกัน อาจจะกล่าวถึงพ่อแมท่ ต่ี ้องไปทำ� นาหาอาหารมาเลย้ี งครอบครวั ดังตัวอย่าง
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54