Page 56 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 56

3-46 ภาษาและทักษะเพ่อื การสอื่ สาร
กิจกรรม 3.3.2

       การประยุกต์ใช้อวจั นภาษาในสถานการณ์ตา่ งๆ มอี ะไรบา้ ง
แนวตอบกิจกรรม 3.3.2

       การประยุกต์ใช้อวัจนภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ประกอบด้วย การประยุกต์ใช้ในความสัมพันธ์
ใกลช้ ดิ การพดู ในทส่ี าธารณะ การแสดงและสือ่ สารมวลชน และในการส่ือสารผา่ นส่อื ออนไลน์

เร่ืองท่ี 3.3.3
ข้อควรค�ำนึงในการใช้อวัจนภาษา

       แม้ว่าอวัจนภาษาจะมีพลังในการส่ือสาร แต่อวัจนภาษาก็มีข้อควรค�ำนึงในการใช้บางประการท่ี
ผูส้ ่งสารควรรู้ ดังรายละเอียดตอ่ น้ี

1. 	อวัจนภาษาสื่อสารได้หลายช่องทาง

       เราแทบจะไม่สามารถสง่ สารเชิงอวัจนะอย่างใดอยา่ งหนึ่งได้ เช่น เราใชท้ า่ ทางผสมผสานกบั การ
สมั ผสั หรอื การใชส้ ายตา เปน็ ตน้ อวัจนภาษาท่ีสอดคลอ้ งกนั มีความนา่ เชือ่ ถือและมีประสิทธิภาพมากกว่า
อวัจนภาษาท่ีก�ำกวมหรืออวัจนภาษาที่ขัดกัน ถึงแม้ว่าเราต้ังใจให้อวัจนสารมีความสอดคล้องกัน แต่
อวจั นสารเหลา่ นยี้ งั คงถกู ถอดรหสั ไปในทศิ ทางอน่ื ๆ ทเี่ ราไมต่ ง้ั ใจใหเ้ ปน็ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอ่ื การแสดง
อวัจนภาษาแปรผันไปตามระดับของการเข้ารหัส ในแง่นี้ ลักษณะของการส่งสารได้หลายช่องทางของ
อวัจนภาษานสี้ ร้างศกั ยภาพท้งั ความนา่ เชื่อถอื ใหเ้ พ่ิมข้นึ และเพิม่ ความก�ำกวมขึน้ อีกด้วย

       เมอื่ เราเกิดความตระหนกั ในสารทเ่ี รากำ� ลงั สง่ ไป เราสามารถสังเกตหรอื รบั รูไ้ ด้ถงึ อวจั นสญั ญาณ
ทไ่ี มส่ อดคล้องกบั สารอ่ืนๆ ได้ ถา้ นักศกึ ษาก�ำลังคยุ กบั อาจารยเ์ กี่ยวกบั ความสามารถของเขาในชน้ั เรียน
และกังวลเร่ืองผลการเรียน แล้วอาจารย์โน้มตัวไปข้างหน้าและพยักหน้าซึ่งเป็นการเข้ารหัสของการใช้
ร่างกายและการเคลื่อนศีรษะเพื่อแสดงถึงอาการตั้งใจฟัง อย่างไรก็ตาม ถ้าหากอาจารย์ไม่สบตาและ
มองไปที่ประตูห้องพักอาจารย์ น่ันคือ อาจารย์ก�ำลังส่งสารเพ่ือแสดงถึงการไม่สนใจ ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ
สารโดยรวมที่แสดงถึงการเอาใจใส่และการวิตกกังวลท่ีอาจารย์ท่านนั้นพยายามเข้ารหัส การเพิ่มความ
ตระหนักในหลากหลายช่องทางท่ีผู้ส่งสารส่งอวัจนสัญญาณมาสามารถช่วยให้เราส่งสัญญาณท่ีมีความ
สอดคล้องกนั มากขึน้ ณ ขณะหน่งึ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61