Page 57 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 57

อวัจนภาษาในการส่อื สาร 3-47

2.	 อวัจนภาษามีผลต่อการปฏิสัมพันธ์

       อวจั นภาษามผี ลตอ่ พฤตกิ รรมของเราและคนอน่ื และการสอ่ื สาร การเปลย่ี นอวจั นสญั ญาณของเรา
มผี ลตอ่ ความคดิ และอารมณ์ของเรา ตรงนที้ ำ� ให้เราควบคมุ การส่อื สารไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ ยกตัวอยา่ ง ถา้ เราก�ำลัง
รออยู่ในแถวเพ่ือต่อใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ใหม่และเจ้าหน้าท่ีที่อยู่ตรงหน้าท�ำงานช้ากว่าที่เราคิดไว้ และ
ผูช้ ายที่อยขู่ า้ งหน้าไมไ่ ด้เตรยี มเอกสารและถามคำ� ถามท่ีไมจ่ ำ� เปน็ เราอาจจะเร่ิมแสดงชุดของอวจั นภาษา
ทสี่ อ่ื ถงึ ความไมพ่ อใจ โดยการกอดอก การใชท้ า่ ทางแบบปดิ และใชน้ ว้ิ มอื โอบรอบตน้ แขนและบบี ตน้ แขน
อยู่เร่ือยๆ ซ่งึ สะท้อนถงึ ความวิตกกังวลและความเครยี ด ยิ่งเรายนื ท่านีน้ านเทา่ ใด ย่ิงแสดงถงึ ระดบั ความ
ไมพ่ อใจซงึ่ ออกมาทางลกั ษณะการปอ้ งกนั ตนเอง เพราะวา่ ชดุ ของอวจั นภาษาเสรมิ และเพม่ิ เตมิ ความรสู้ กึ
ของเรา ความตระหนักท่ีเพ่ิมขึ้นในวงจรน้ีสามารถช่วยให้เราตั้งใจเปลี่ยนอวัจนภาษา และระดับอารมณ์
ตามล�ำดบั

       เราสามารถจัดการพฤติกรรมของเราได้อย่างมีชั้นเชิง หากขีดความสามารถในการเข้ารหัสทาง
อวัจนภาษาของเราเพิ่มข้ึน กลยุทธ์ในการใช้อวัจนภาษาเพ่ือถ่ายทอดสารเหล่าน้ีได้รับการยอมรับอย่าง
กวา้ งขวางและไดร้ บั การคาดหวังในสังคม การใช้อวัจนภาษาเพ่อื จงใจโกหกหลอกลวงและชกั นำ� ไปในทาง
ท่ีผดิ ก่อให้เกิดผลในทางลบตามมาและน�ำไปสู่การส่ือสารทีไ่ ม่มจี รยิ ธรรม

       เมอื่ เราสงั เกตและควบคมุ พฤตกิ รรมอวจั นภาษาของเราไดด้ ขี นึ้ และเขา้ ใจอทิ ธพิ ลของอวจั นสญั ญาณ
ตอ่ การปฏสิ มั พันธ์ เราอาจแสดงขดี ความสามารถอน่ื ในการสอื่ สารหลายๆ ประเภท เชน่ คนทมี่ ีทกั ษะใน
การสงั เกตและควบคมุ การแสดงอวจั นภาษาทางอารมณท์ เ่ี หนอื กวา่ จะเปน็ ผพู้ ดู ตอ่ หนา้ ประชมุ ชนไดอ้ ยา่ ง
สบายๆ ไมอ่ ดึ อดั ผพู้ ูดจะเรม่ิ วิตกกงั วลเมื่อเขาคดิ วา่ ผู้ฟงั ก�ำลังจับสังเกตความวติ กกังวลนัน้ ผ่านสงิ่ ทผ่ี ูฟ้ ัง
เห็นจากอวัจนสัญญาณต่างๆ จึงเป็นเหตุให้ความม่ันใจของบุคคลหนึ่งเพ่ือควบคุมสัญญาณท่ีปรากฏควร
บรรเทาอาการประหม่าและความกลวั เหลา่ น้ัน

3.	 อวัจนภาษาใช้สร้างลักษณะความสัมพันธ์

       มนุษย์ค่อยๆ พัฒนาแรงกระตุ้นพฤติกรรมแต่ก�ำเนิด (innate urge) เพื่อสะท้อนพฤติกรรม
อวจั นภาษา และถงึ แมว้ า่ เราไมค่ อ่ ยตระหนกั ถงึ ประเดน็ นมี้ ากเทา่ ใดนกั แรงกระตนุ้ เหลา่ นนี้ ำ� ไปสพู่ ฤตกิ รรม
ในชีวิตประจ�ำวัน สมมติว่าในขณะที่ก�ำลังเข้าแถว เราและคนอ่ืนๆ พยายามจะอยู่เป็นแถวเป็นแนว
อวัจนภาษาตรงนี้เริ่มท�ำงานกับจิตใต้ส�ำนึก เพ่ือให้เกิดการเคลื่อนไหวและมีพฤติกรรมที่เป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน คือการเข้ามาต่อแถวคนก่อนหน้า ท�ำแบบน้ีซ้ําๆ เร่ือยไปในลักษณะคล้ายๆ กระจก เรียกว่า
ปรากฏการณก์ ารสะทอ้ น (mirroring) ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณท์ อี่ ธบิ ายลกั ษณะของปฏบิ ตั กิ ารทางจติ ใตส้ ำ� นกึ
ผา่ นอวจั นสัญญาณเพื่อใหค้ นเหลา่ นน้ั มีพฤตกิ รรมเหมือนๆ กบั เรา ปรากฏการณ์การสะท้อนมีการพัฒนา
ใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คมเพอ่ื ใหม้ นษุ ยส์ ามารถเขา้ ไปเปน็ สมาชกิ ในกลมุ่ ทใี่ หญก่ วา่ มนษุ ย์
ยคุ แรกทปี่ ระสบผลสำ� เรจ็ ในการใชห้ ลกั การสะทอ้ นมแี นวโนม้ ทจ่ี ะปกปอ้ งอาหาร ทอี่ ยอู่ าศยั และรกั ษาความ
ปลอดภัยได้ หลักการสะท้อนเป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและเกิดจากจิตใต้ส�ำนึก แต่เราสามารถใช้มัน
และความหลากหลายของอวจั นสัญญาณอน่ื ๆ ได้อย่างมสี ตเิ พอื่ ชว่ ยสรา้ งพันธะทางสงั คมและความชอบท่ี
เหมือนกนั
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62