Page 54 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 54

3-44 ภาษาและทกั ษะเพอ่ื การสื่อสาร

4. 	อวัจนภาษาในการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์

       การสื่อสารผ่านส่ือประเภทน้ีเน้นการเขียนเป็นหลักส่งผลให้การแสดงอวัจนภาษาถูกลดทอนลง
ไปอย่างมาก นั่นคือ หากต้องการแสดงอวัจนภาษาผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ส่งสารต้องอาศัยการอธิบาย
ด้วยวัจนภาษาซ่ึงอาจไม่ครอบคลุมกับความรู้สึกท่ีแท้จริง ผู้พัฒนาระบบหรือแอปพลิเคชันจึงพยายามลด
ชอ่ งวา่ งในการสอื่ สารระหวา่ งผใู้ ช้ ดว้ ยการพฒั นากราฟกิ ตา่ งๆ ขน้ึ มาเพอื่ ใชเ้ ปน็ อวจั นภาษาของผใู้ ชก้ ราฟกิ
น้นั ๆ เชน่ ใน Facebook มีภาพทแ่ี สดงปฏกิ ิริยาหรอื อารมณ์ (reaction) ทง้ั 6 แบบ ไดแ้ ก่ ถกู ใจ (like)
รักเลย (love) หวั เราะฮา่ ๆ (haha) วา้ ว (wow) เศรา้ (sad) และโกรธ (angry) หรือในแอปพลเิ คชนั
LINE ทม่ี สี ติกเกอร์รปู แบบตา่ งๆ หรอื การใชอ้ นิ เทอร์เน็ตมมี (Internet meme) ทีค่ ิดค้นโดยผู้ใชเ้ องเพื่อ
แสดงอารมณอ์ ันซบั ซอ้ นท่รี ะบบไม่ไดพ้ ฒั นาไว้ให้ อนิ เทอร์เนต็ มีม คือข่าวสารข้อมูลท่ถี ูกน�ำเสนอผา่ นสอ่ื
สงั คมออนไลน์ (social media) ในรปู แบบของขอ้ ความ รปู ภาพ เสยี ง อยา่ งกวา้ งขวางและเกดิ เปน็ ทนี่ ยิ ม
ปฏิบตั ติ ามกันในสงั คมออนไลน์อยา่ งรวดเรว็ โดยเนือ้ หาของสารนัน้ อาจเปน็ เรื่องใดกไ็ ด้ทีเ่ กิดข้นึ ตามหน้า
ส่อื สังคมออนไลนน์ ้ันๆ แลว้ แพรก่ ระจายไป (ภษู ณา ถนอมศักดิ์, 2558)

       นอกจากนย้ี งั มอี วจั นภาษาทเี่ ปน็ การตกลงรว่ มกนั เฉพาะกลมุ่ ผใู้ ชจ้ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-mail)
ในการใหค้ วามหมายกบั สญั ลกั ษณพ์ เิ ศษบางประเภท เชน่ คำ� ทใี่ ชต้ วั พมิ พใ์ หญ่ (capital letters) หมายถงึ
การ “พดู คำ� นน้ั ใหด้ งั ขนึ้ ” การใชเ้ ครอ่ื งหมายดอกจนั (asterisks: *) ลอ้ มรอบคำ� หมายถงึ การเนน้ คำ� นน้ั ๆ
และการเคาะเว้นวรรคระหว่างตัวอักษรในค�ำอาจมาพร้อมกับการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่และการใช้เคร่ืองหมาย
ดอกจัน (Robb, 2014)

            ภาพท่ี 3.13 ภาพแสดงปฏิกิริยาหรืออารมณ์ (Reaction) ใน Facebook ทั้ง 6 แบบ

ที่มา:	 Facebook Brand Resource Center, 2017.
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59