Page 18 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 18

2-8 การอา่ นและการเขียนภาษาเขมร

เรื่องที่ 2.1.1

วธิ ีการเขียนคา

       วิธีการเขียนคาภาษาเขมร เป็นหลักเกณฑ์ในการเขียนภาษาเขมรที่ถูกต้องตามไวยากรณ์
ตวั อกั ษรเขมรมีพัฒนาการมาจากตวั อกั ษรปลั ลวะซึง่ ใช้อย่ใู นอินเดียตอนใต้ ราวปีพุทธศกั ราช 1100 (อบุ ล
เทศทอง, 2558: 4) และมีการปรับเปล่ียนรปู ตัวอักษรตามยุคสมัยจนถึงปัจจุบัน รูปตัวอักษรภาษาเขมร
ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ และตัวเลข นอกจากน้ียังมีอักขรวิธีในการเขียนประกอ บเป็นรูปคา
ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้

1. วธิ กี ารเขยี นตวั อกั ษรพยญั ชนะเขมร

     พยญั ชนะเขมรมีทง้ั หมด 33 รปู มีรูปเขียน 2 แบบ คือ GkSrmUl // “อกั ษรมูล”
นยิ มใชใ้ นการเขยี นหัวข้อหรือข้อความสาคัญ และ GkSreRCog // “อักษรเชรยี ง” นิยมใช้

เขียนภาษาเขมรทั่วไป นอกจากนี้ พยัญชนะในภาษาเขมรยังสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
พยัญชนะตัวเต็ม และพยัญชนะตัวเชิง วิธีการเขียนตัวอักษรพยัญชนะเขมรบางรูปมีลักษณะคล้ายกับ
ตัวอกั ษรไทย และมีหลายรูปท่ีเขียนแตกตา่ งกนั

       1.1 วิธีการเขียนพยัญชนะตัวเต็ม หลักวิธีเขียนตัวอักษรเขมรถ้าเป็นอักษรมูลจะเขียนให้มี
ลักษณะกลม มีความบรรจงและประณีต ส่วนอักษรเชรียงจะเขียนให้มีลักษณะตัวเอนไปขวาเล็กน้อย
ส่วนใหญ่เร่ิมต้นจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่างลากเส้นเดียวติดต่อกันไปท้ังตัวอักษร ยกเว้นพยัญชนะ
บางตวั ทเ่ี ขียนติดต่อเปน็ เสน้ เดยี วไม่ได้ การเขยี นพยญั ชนะตวั เตม็ ในภาษาเขมรสามารถแบง่ วธิ กี ารเขยี น
พยญั ชนะออกเป็นกลุ่ม ดังน้ี

           1.1.1 กลุ่มตัวอักษรเส้นเดียว เป็นตัวอักษรท่ีเขียนด้วยการลากเส้นเดียวติดต่อกันไปท้ัง
ตัวอักษร โดยเริ่มเขียนหัวอักษรก่อนหากตัวอักษรนั้นมีหัว จากนั้นลากเส้นจากซ้ายไปขวา หรือจากบน

ลงลา่ ง ยกเว้นตวั อกั ษร n r และ v ท่ีจะเขียนหวั จากข้างลา่ งแล้วลากเส้นข้ึนมาข้างบน ตวั อักษรเสน้ เดยี ว

ได้แก่

        ตวั อักษร x g z D Z N
                T n B r lv
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23