Page 21 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 21

หลักการเขยี น 2-11

        พยญั ชนะตวั เชิง -á -ç -Á -Ç -¶
                     -© -¢ -Ä -Ð -Æ
                     -Ñ -þ -ß -Þ -,
                     -ö -< -ü -ø -ð

           1.2.2 กล่มุ ตวั อักษรเขยี นจากขวาไปซ้าย เปน็ พยญั ชนะตัวเชิงทีม่ หี ลักการเขียนพื้นฐานจาก
กลุ่มตัวอักษรเส้นเดียว แต่เขียนจากขวาไปซ้ายโดยลากเส้นเดียวติดต่อกัน ตัวอักษรเขียนจากขวาไป
ซา้ ย ได้แก่

        พยญั ชนะตวั เชงิ -J -æ -§ -ñ -µ -V

           1.2.3 กล่มุ ตัวอักษรเขียนจากล่างข้ึนบน เป็นพยัญชนะตัวเชิงท่ีเขียนจากล่างข้ึนบน กลุ่ม
ตัวอักษรน้ีมีทั้งลากเส้นเดียวติดต่อกันและลากหลายเส้น ตัวอักษรเขียนจากล่างขึ้นบน โดยลากเส้น
หางยาวข้ึนไปจนเสมอกับพยัญชนะตัวเต็มและอยู่ตาแหน่งข้างหลังพยัญชนะตัวเต็ม ยกเว้นพยัญชนะ

ตัวเชิง R- เท่าน้ันที่อยู่ตาแหน่งข้างหน้าพยัญชนะตัวเต็มคล้ายกับครอบไว้ด้านหน้าพยัญชนะ วิธีการ

เขียนควรเขียนพยัญชนะตัวเต็มก่อน โดยเว้นที่ว่างด้านหน้าไว้เล็กน้อยเพ่ือเขียนตัวเชิง กลุ่มตัวอักษร
เขียนจากล่างข้นึ บน ได้แก่

        พยญั ชนะตัวเชิง -Ç -Ä -Æ -, -ü
                     R- -S

        อย่างไรก็ตามยังมีพยัญชนะตัวเชิงรูปพิเศษ ได้แก่ พยัญชนะ j (ญ) มีพยัญชนะตัวเชิง 2
รูป โดยใช้ในกรณีท่ีต่างกัน คือ รูปพยัญชนะตัวเชิง -J เป็นรูปตัวเชิงที่ใช้ซ้อนกับพยัญชนะอ่ืนๆ เช่น
คาวา่ xJMú “ฉนั ” เปน็ ต้น สว่ นรปู พยญั ชนะตวั เชงิ -Ø (ญ) เป็นรูปทใ่ี ชซ้ อ้ นใต้ตัว BaØ เท่าน้นั เชน่ คาวา่ kBaØa

“หญิงสาว” เปน็ ตน้

       นอกจากน้ี พยัญชนะตัวเชิง -þ เป็นพยัญชนะตัวเชิงของพยัญชนะ d และ t ซึ่งถ้า
พยัญชนะ ตัวเชิง -þ ซ้อนอยู่ใต้พยัญชนะตัวเต็มกลุ่มเสียง // จะออกเสียง // เช่น คาว่า kNþal

// “ตรงกลาง” เป็นต้น หากพยัญชนะตัวเชงิ -þ ซ้อนอยู่ใต้พยัญชนะตัวเต็มกลุ่มเสยี ง // จะ
ออกเสยี ง // เชน่ คาวา่ ké®nþ // “กรรไกร” เป็นต้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26