Page 25 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 25

หลกั การเขียน 2-15

       3.1 วิธีการเขียนประสมคาที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียว คาที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียว คือ คาท่ี
ประกอบด้วยพยัญชนะต้นเพียงตัวเดียว หรือคาท่ีประกอบด้วยพยัญชนะต้นประสมกับสระ หรือคาท่ี
ประกอบด้วยพยัญชนะต้น ประสมกับสระและตัวสะกด วิธีการเขียนควรเขียนคล้ายการอ่านสะกดคา
ตามลาดับที่กล่าวไว้ขา้ งต้น ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

คาท่ีมีพยัญชนะต้นเพยี งตัวเดยี ว            k

   เขียนคาว่า k // “คอ”

คาท่มี พี ยัญชนะต้นประสมกับสระ              t+ U

   เขยี นคาว่า tU // “ต”ู้

คาทม่ี ีพยญั ชนะตน้ ประสมกับสระ และตัวสะกด

เขยี นคาวา่ biT // “ปิด”                 b+ i +T

คาทม่ี พี ยัญชนะตน้ ประสมกบั สระ ตวั สะกด และเครอ่ื งหมายประกอบการเขียน
เขียนคาว่า nak; / / “คน”               n+a +k+;

       ข้อสังเกตพิเศษในการเขียนประสมคา กล่าวคือ ถ้าคานั้นมีสระหน้ารูปพยัญชนะ คือ สระ

e- และสระ E- ควรเขียนสระดังกล่าวก่อนแล้วตามด้วยพยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด และเคร่ืองหมาย

ประกอบการเขียน (ถ้ามี) เชน่

เขียนคาว่า eck // “กล้วย”               e+c+k
                                            E+d+k
        Edk // “เหลก็ ”

     ในการเขียนสระ a หรือสระท่ีมีรูปสระ a ประกอบ ได้แก่ สระ e-a สระ -aM สระ e-aH และสระ e-A

เมื่อเขียนสระประสมกับพยัญชนะ สระส่วนหลังจะต้องเช่ือมต่อกับปลายศก หรือหางพยัญชนะให้ติดกัน
เช่น
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30