Page 28 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 28

2-18 การอา่ นและการเขยี นภาษาเขมร

5. วธิ ีการพมิ พ์ตวั อกั ษรเขมร

       การพฒั นาด้านการพมิ พเ์ อกสารมาแทนการเขียน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสะดวกและรวดเรว็ มากย่งิ ข้ึน
ตัวพิมพ์อักษรเขมรเริ่มต้นจากการนาวิทยาการตะวันตกเข้ามาใช้ในประเทศกัมพูชามาตั้งแต่สมัยอาณา
นิคมฝรั่งเศสท่ีเริ่มต้นจากการพิมพ์หนังสือพิมพ์ ประกาศ และหนังสือในโรงพิมพ์ โดยมีการพัฒนา
ตัวพมิ พอ์ ักษรเขมรจากการแกะแทน่ พมิ พท์ เ่ี ป็นลายมอื กอ่ น คนทว่ั ไปยงั ไมส่ ามารถทาได้เอง ลาดบั ต่อมา
จึงมีแท่นตัวพิมพอ์ ักษรเขมร จากน้ันต่อมาเมื่อมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ การพิมพ์ตัวอักษรเขมรมี

การปรับตัวพิมพ์อักษรเขมรให้ตั้งตรง เรียกว่า GkSrQr “อักษรยืน” เพื่อให้การจัดการรูปแบบเอกสาร

และอ่านง่ายยิ่งข้ึน ปัจจุบันมีการพัฒนาการพิมพ์ตัวอักษรเขมรในระบบโทรศัพท์เคลื่อนท่ีแบบ
Smartphone เพื่อใชใ้ นการสอื่ สารอีกด้วย

       การพิมพ์ตวั อักษรเขมรทมี่ อี ยู่ในระบบคอมพิวเตอร์มีอยู่ 2 ระบบ ไดแ้ ก่
       5.1 การพิมพ์แบบ Limon เป็นระบบการพิมพ์ยุคแรกๆ โดยใช้ระบบแป้นพิมพ์ภาษาอังกฤษ
และใช้ Font เพ่ือเปล่ียนรูปแบบตัวอักษรที่มีทั้งตัวอักษรมูลและตัวอักษรเชรียง การพิมพ์แบบ Limon
เป็นการพิมพแ์ บบเรียงตามรูปตวั อกั ษร หรอื เลียนแบบการเขียนตัวอักษรเขมรด้วยลายมือ การพมิ พส์ ระ

เขมรแบบน้ีจะพิมพ์แยกเป็นตัว สระไม่ติดกัน เช่น สระ สระ e-a ต้องพิมพ์แยกเป็น สระ e- และ สระ a

ตามตาแหน่งที่อยู่ในคานั้นๆ การพิมพ์ตัวพยัญชนะเชิงในระบบนี้จะใช้วิธีการพิมพ์เลขรหัสจึงจะปรากฏ
รูปตัวพยัญชนะเชิง ปจั จบุ นั การพิมพ์แบบ Limon ในประเทศกมั พูชาไมค่ อ่ ยไดร้ ับความนิยมแลว้ เพราะ
มีระบบการพิมพแ์ บบอ่ืนทงี่ ่ายและสะดวกกว่ามาทดแทน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33