Page 31 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 31

หลักการเขียน 2-21

เร่ืองที่ 2.1.2
คาและหน้าท่ีของคา

       คาเป็นหน่วยพ้ืนฐานที่สาคัญในการส่ือสารภาษา และเป็นพ้ืนฐานในการสร้างวลีและประโยค
ดังนั้น การกาหนดหมวดคาหรือชนิดของคาจึงมีความจาเป็น เพ่ือให้สามารถสร้างวลีหรือประโยคให้
ถูกต้องได้ตามหลักไวยากรณ์ ในคาเดยี วกันนน้ั สามารถจดั อย่ไู ด้หลายหน้าท่ี ซึ่งข้ึนอยู่กับตาแหน่งทว่ี าง
ของคานั้น หรือจาแนกหมวดคาโดยอาศัยความหมายหรือคาจากัดความของคานั้นเป็นเกณฑ์ อย่างไร
ก็ตาม คาบางคาไม่สามารถกาหนดหมวดคาและความหมายได้ชัดเจน เพราะการใชค้ าต่างๆ ในภาษามี
การเปล่ียนแปลงทั้งความหมายและหน้าท่ีของคาน้ันไปตามยุคสมัย ในท่ีนี้จะอธิบายการจาแนกคาและ
หน้าท่ีของคาในภาษาเขมร โดยภาษาเขมรสามารถแบง่ ชนดิ ของคาออกเปน็ 8 ชนิด ดังน้ี

1. คานาม

     คานาม ในภาษาเขมรเรยี กว่า nam // เปน็ คาที่แสดงความหมายเกี่ยวกบั บคุ คล สตั ว์ วัตถุ

สิ่งของ สถานท่ี ความคิด ความเช่ือ รวมไปถึงสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ท้ังท่ีเป็นนามธรรมและรูปธรรม
คานามมีตาแหน่งเป็นประธาน กรรม หรือส่วนเติมเต็มของประโยค รวมท้ังคานามยังเป็นส่วนประกอบ
หลกั ของนามวลีดว้ ย คานามในภาษาเขมรยกตัวอย่างเชน่

GñkCMnjY           / /  “นักธรุ กิจ”  เป็นตน้
pSar               //            “ตลาด”
karGPivDÆn_        //  “การพัฒนา”

ตัวอยา่ งประโยค

GñkCMnYj enHebIkhagfµIenApSar.

//
“นกั ธุรกจิ นีเ้ ปดิ ร้านใหมท่ ่ีตลาด”
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36