Page 36 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 36
2-26 การอ่านและการเขยี นภาษาเขมร
7. คาบุพบท
คาบุพบท ในภาษาเขมรเรียกว่า Fañ k; // เป็นคาที่มีความหมายใช้บอกตาแหน่ง หน้าท่ี
ความเกี่ยวข้อง หรือความมุ่งหมาย ส่วนใหญ่ปรากฏอยู่ตาแหน่งข้างหน้านามวลีและเป็นส่วนต้นของ
บุพบทวลี ส่วนใหญ่จะเป็นคาบอกตาแหน่ง เช่น บน ล่าง หน้า หลัง ใต้ เป็นต้น หรืออาจเพื่อบอกความ
เกยี่ วข้องหรอื หน้าที่ เช่น ต่อ สว่ น จาก เปน็ ต้น ยกตัวอย่างคาบุพบทในภาษาเขมร เช่น
mux // “หน้า”
eRkay // “หลัง”
elI // “บน”
kgñú // “ใน”
BI // “จาก”
ตวั อยา่ งประโยค
mþaydkesµAenAkgñú sYnpáaxagmux pÞH.
//
“แมถ่ อนหญา้ อยู่ในสวนขา้ งหน้าบา้ น”
8. คาสันธาน
คาสันธาน ในภาษาเขมรเรียกว่า Qñab; / / เป็นคาท่ีใช้เช่ือมข้อความกับข้อความ หรือ
เชื่อมประโยคกับประโยค โดยคาสันธานอาจเชื่อมข้อความท่ีคล้อยตามกัน เชื่อมข้อความที่ขัดแย้งกัน
เช่ือมข้อความท่ีเป็นเหตุเป็นผลกัน หรือเช่ือมข้อความท่ีเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ตาแหน่งของคาสันธาน
ปรากฏอยู่ได้ท้ังหน้าข้อความ หลังข้อความ หน้าประโยค หลังประโยค หรือระหว่างประโยคก็ได้
ยกตัวอยา่ งคาสันธานในภาษาเขมร เชน่
คาสันธานเช่ือมขอ้ ความทคี่ ล้อยตามกัน
ngi //
“กบั ”
ehIynwg // “และ”