Page 41 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 41

หลักการเขียน 2-31

     2.3 เคร่ืองหมาย ¡ เรียกว่า ]TansBaØa / / เขียนคล้ายเครื่องหมายอัศเจรยี ใ์ น

ภาษาไทย เขียนอยู่ในตาแหนง่ หลังคา ข้อความหรือประโยคท่ีแสดงการอุทานหรือแสดงอารมณ์อย่างใด
อย่างหนง่ึ ดงั ตวั อยา่ ง

               yI ¡ )atm; uxeTANayUremø:H?

                    //
                    “โอ้ หายหน้าไปไหนต้งั นาน”

     2.4 เคร่ืองหมาย . เรียกว่า xNÐ // เขียนคล้ายเครื่องหมายไปยาลน้อยในภาษาไทย มี

ตาแหนง่ อยทู่ า้ ยขอ้ ความหรือประโยค เพ่อื แสดงถงึ การจบความหรอื จบประโยค ดงั ตวั อย่าง

               eyIgRtUvxMeronsURt.

                    //
                    “เราต้องขยนั เรียนหนังสอื ”

     2.5 เคร่ืองหมาย .l. เรียกว่า ebyüal³ / / เขียนคล้ายเครื่องหมายไปยาลใหญ่
ในภาษาไทย กล่าวคือ มีตัวอักษร l อยู่กลางระหว่างเคร่ืองหมาย . 2 ตัว เคร่ืองหมายนี้นิยมเขียน

ตาแหนง่ อยูท่ ้ายข้อความหรือประโยคท่ใี ชล้ ะคาหรือข้อความทีย่ ังมอี กี มาก ดังตัวอยา่ ง

               páakuLabmanBN’s BNs’ uICMBU BN’Rkhm .l.

                    /   /
                    “ดอกกุหลาบมสี ีขาว สชี มพู สแี ดง”
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46