Page 40 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 40

2-30 การอ่านและการเขยี นภาษาเขมร

1.9 เคร่ืองหมาย ³ เรียกว่า yuKlBinúÞ // เขียนคล้ายเคร่ืองหมายวิสัญชนีใน

ภาษาไทยแต่มีหัวเป็นจุดทึบ มีตาแหน่งอยู่หลังพยัญชนะ และส่วนใหญ่ปรากฏในคายืมจากภาษาบาลี-

สนั สกฤตในภาษาเขมร เช่น
skáar³
                                  //    “สกั การะ”
zan³
                                  / /   “ฐานะ”

1.10 เคร่ืองหมาย ² เรียกว่า elxeTa // เขียนคล้ายเคร่ืองหมายไม้ยมกในภาษาไทย

มตี าแหน่งอยดู่ า้ นหลงั คาเพื่อออกเสยี งคานั้นซ้าอกี คร้ังหนึ่ง ซงึ่ จะทาให้มคี วามหมายมากข้ึน เชน่

nmI Yy ²                          // “แตล่ ะ”

epSg ²                            / /  “ตา่ งๆ”

2. เครื่องหมายทใ่ี ช้ประกอบข้อความ

       เคร่ืองหมายที่ใช้ประกอบข้อความ เป็นเครื่องหมายที่ใช้ประกอบกับข้อความ วลี และประโยค
ตาแหน่งอยู่ด้านหลังของข้อความ วลี และประโยค มีความสาคัญในการเว้นวรรคข้อความ หรือจบความ
เครอื่ งหมายทใ่ี ชป้ ระกอบข้อความในภาษาเขมร ไดแ้ ก่

     2.1 เครื่องหมาย / เรียกว่า kNþksBaØa // หรือ ek,ós // เขียนคล้าย

เครื่องหมายจลุ ภาคในภาษาไทย สว่ นใหญ่เขียนคน่ั จานวนเลข และใชเ้ ขยี นไว้ดา้ นหลังคาหรือวลี เพือ่ คน่ั
คาแยกแต่ละรายการท่ีเขียนตอ่ ๆ กัน ดงั ตวั อยา่ ง

         การเขยี นค่นั จานวนเลข 1/000/000
         การเขยี นค่ันคาหรอื วลี pÞHxMJúmanstVeKa/ RkbI/ man/; Ta ehyI ngw esH.

                                     /  
             /

                                     “บา้ นของฉนั มวี วั , ควาย, ไก,่ เป็ด และมา้ ”

     2.2 เครื่องหมาย ? เรียกวา่ bcu nä sBaØa // เขียนคล้ายเครื่องหมายปรศั นีใน

ภาษาไทย มตี าแหนง่ อยู่ท้ายข้อความหรือประโยคทีแ่ สดงการถาม ดังตัวอยา่ ง

esovePAenAÉNa?

//
“หนงั สืออยู่ท่ีไหน”
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45