Page 38 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 38
2-28 การอา่ นและการเขียนภาษาเขมร
เรื่องท่ี 2.1.3
เคร่ืองหมายประกอบการเขียน
ในการเขียนภาษาเขมรจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องทราบถึงการใช้ เคร่ืองหมายที่นามาประกอบ
ข้อความและประโยคด้วย เพ่ือให้การเขียนสื่อสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วน เคร่ืองหมายประกอบ
การเขียนในภาษาเขมรมีอยู่จานวนมาก โดยจะขอกล่าวเฉพาะเคร่ืองหมายที่มีความสาคัญกับการเขยี น
การเขียนเครอื่ งหมายประกอบการเขียนสามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
1. เคร่ืองหมายทใี่ ช้ประกอบตวั อกั ษร
เคร่ืองหมายที่ใช้ประกอบตัวอักษร เป็นเครื่องหมายที่มีตาแหน่งอยู่ด้านบนหรือด้านหลังของ
ตัวอกั ษร และมีความสาคญั ในการออกเสยี งพยัญชนะหรือคา ทาให้เกิดคาทห่ี ลากหลายมากยง่ิ ขึน้ ได้แก่
1.1 เคร่ืองหมาย ; เรียกว่า rsSsBaØa // หรือ bnþk; // เขียนคล้าย
เคร่ืองหมายไมเ้ อกในภาษาไทย มีตาแหน่งอยบู่ นพยัญชนะสะกดเท่านนั้ เปน็ เคร่อื งหมายกากับการออก
เสียงสระของคาน้ันให้สั้นลง เครื่องหมายน้ีจะปรากฏรูปอยู่ในคาที่ไม่มีรูปสระ และคาที่มีรูปสระ -a
เทา่ นนั้ โดยเขียนเป็นลาดับสุดทา้ ยของคา เชน่ k+t+ ;
k+a +t+ ;
เขียนคาว่า kt; // “จด”
kat; // “ตดั ”
1.2 เครอ่ื งหมาย ‘ เรียกวา่ RtIs½BÞ // ในภาษาไทยเรียกว่า “ตรีสพั ท์” เปน็ เครอ่ื งหมาย
ที่มีตาแหน่งอยู่บนพยัญชนะต้น ใช้ในการเปลี่ยนเสียงพยัญชนะกลุ่มเสียง // ให้เป็นเสียง // เช่น
sabU‘ // “สบู่”
1.3 เคร่ืองหมาย : เรียกว่า musikTnþ // หรือ eFµjkNrþú // ใน
ภาษาไทยเรียกว่า “ฟันหนู” เป็นเครื่องหมายที่มีตาแหน่งอยู่บนพยัญชนะต้น ใช้ในการเปล่ียนเสียง
พยญั ชนะกลมุ่ เสยี ง // ให้เปน็ เสียง // เชน่