Page 39 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 39
หลกั การเขียน 2-29
Er: // “แร”่
1.4 เคร่ืองหมาย ¾ เรียกว่า Gsþa // เขียนคล้ายเครื่องหมายไม้ไต่คู้ในภาษาไทย มี
ตาแหนง่ อยบู่ นพยัญชนะตวั เดยี วแบบไมม่ ีตัวสะกด และออกเสียง //
k¾ // “ก”็
d¾ // “ท,่ี ซง่ึ ”
1.5 เครื่องหมาย ½ เรยี กวา่ sMeyaKsBaØa // เขียนคลา้ ยเครอ่ื งหมายไม้หัน
อากาศในภาษาไทย มตี าแหน่งอย่ดู ้านบนพยัญชนะตน้ ในภาษาเขมร เช่น
cn½ Þ // “วนั จนั ทร์”
1.6 เคร่ืองหมาย ’ เรียกว่า r)aT // เขียนคล้ายหางตัวอักษรในภาษาเขมร แต่มี
ตาแหน่งอยู่ด้านบนของพยัญชนะสะกด ส่วนใหญ่ปรากฏในคายืมจากภาษาสันสกฤตในภาษาเขมรท่ีใช้
เขียนแทน รฺ (ร เรผะ) เช่น
BN’ //
“ส”ี
1.7 เครอ่ื งหมาย _ เรยี กว่า TNÑXat / / หรือ bdiesFn_ // เขยี นคลา้ ย
เครื่องหมายทัณฑฆาตในภาษาไทย มีตาแหน่งอยู่ด้านบนพยัญชนะสะกดท่ีไม่ต้องการออกเสียง ส่วน
ใหญ่ปรากฏในคายมื จากภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาเขมร เชน่
eBaF× //
s)aþ h_ “โพธ์ิ”
// “สปั ดาห”์
1.8 เครื่องหมาย H เรียกว่า visCinIy // หรือ rHmxu // เขียนคล้ายเครื่อง-
หมายวสิ ญั ชนใี นภาษาไทยแต่ไม่มหี างและเปน็ จุดโปรง่ มีตาแหน่งอยู่หลงั พยญั ชนะหรือสระ e-H e-aH -Hi
และ -Hu ในภาษาเขมร เชน่
RsH // “สระนา้ ”
ekaH //
“เกาะ”