Page 34 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 34

2-24 การอ่านและการเขียนภาษาเขมร  “เล็ก”
                                 “ด”ี
       tcU //                “ใหญ”่
       l¥ //                 “ใหม่”
       FM //                 “แพง”
       fµI //
       éfø //

ตวั อยา่ งประโยค

   TnM ji BIpSarFM enHmantémøéfø CagTnM ji BIpSartUc.

    //
    “สินค้าจากตลาดใหญ่มรี าคาแพงกวา่ สินค้าจากตลาดเลก็ ”

5. คากริยาวเิ ศษณ์

     คากริยาวิเศษณ์ ในภาษาเขมรเรียกว่า KuNkiriya // หรือ kiriyaviessn_

// เป็นคาที่ใช้ขยายคากริยา เพ่ือบอกลักษณะและสภาพของกริยาน้ัน คากริยาวิเศษณ์
ในภาษาเขมรสว่ นใหญ่จะอยู่ตาแหนง่ ข้างหลังคากริยา มีบางคาที่มีตาแหน่งอยหู่ น้าคากรยิ า ยกตัวอย่าง
คากรยิ าวเิ ศษณ์ในภาษาเขมร เชน่

yWt //                       “ชา้ ”
Rbjab; //                  “รีบ”
yUr //                        “นาน”
Bi)ak //                   “ยาก, ลาบาก”
BUEk //                    “เก่ง”

ตวั อยา่ งประโยค

   LanenHbryWt ².

    / /
    “รถคันนี้ขบั ช้าๆ”
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39