Page 32 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 32

2-22 การอา่ นและการเขียนภาษาเขมร

2. คาสรรพนาม

     คาสรรพนาม ในภาษาเขมรเรียกว่า sBVnam // เป็นคาที่ใช้แทนคานาม เพ่ือใช้ระบุ

แทนบุคคลว่าเป็นผู้พูด ผู้ท่ีพูดด้วย หรือผู้ที่กล่าวถึง อาจใช้ระบุแทนคน สัตว์ ส่ิงของ หรือความคิด
คาสรรพนามมีตาแหน่งเป็นประธานหรือกรรมของประโยค นอกจากน้ีคาสรรพนามยังเป็นส่วนประกอบ
หลักของนามวลีด้วย คาสรรพนามในภาษาเขมรมีการแบ่งระดับอาวุโส สถานะทางสังคม วัย และเพศ
นอกจากนี้ยังใช้คาแสดงอาชีพ คาแสดงตาแหน่งหน้าที่การงาน และคาเรียกเครือญาติเป็นคาสรรพนาม
ไดอ้ กี ดว้ ย ยกตัวอยา่ งเชน่

´        //          “ผม, ฉัน”     ใช้แทนตนเองได้ท้ังเพศชายและหญิง
´)aT     //     “กระผม”       ใช้ในโอกาสแบบเปน็ ทางการของเพศชาย
nag´     //     “ดิฉนั ”      ใช้ในโอกาสแบบเป็นทางการของเพศหญิง
elak     //          “คณุ , ท่าน”  ใช้กบั เพศชายอาวุโส
elakRsI  //     “คุณ, ท่าน”   ใช้กบั เพศหญิงอาวโุ ส
eyIg     //          “เรา”

ตวั อย่างประโยค

   nag´ sUmGeBa¢IjelakBisa)ay.

    //
    “ดฉิ ันขอเชญิ คณุ รบั ประทานข้าว”

eyIg eronPasaExµr.

//
“เราเรยี นภาษาเขมร”
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37