Page 27 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 27

หลกั การเขยี น 2-17

       3.3 วิธีการเขียนประสมคาท่ีมีการเปล่ียนรูป คาท่ีมีการเปล่ียนรูปเป็นการประกอบคาพิเศษท่ีมี
การเปล่ียนรูปพยัญชนะเมื่อประสมกับสระ เพ่ือให้เกิดความชัดเจน ไม่สับสนกับพยัญชนะอ่ืน ในภาษา

เขมรมีคาที่มีการเปลี่ยนรูปพยัญชนะ คือ รูปพยัญชนะ b เมื่อประกอบกับสระ a หรือสระที่มีรูปสระ a
ประกอบ ได้แก่ สระ e-a สระ -aM สระ e-aH และสระ e-A จะมีการเปล่ียนรูปพยัญชนะจาก b เป็น ) เพ่ือ
ไมใ่ ห้เกิดความสับสนกบั พยญั ชนะ h

     วิธีการเขยี นพยัญชนะ ) เมอื่ ประสมกับสระ a หรือสระท่มี รี ูปสระ a ประกอบ ไดแ้ ก่ สระ e-a สระ
-aM สระ e-aH และสระ e-A สว่ นหัวพยญั ชนะหนา้ รูปอักษรจะเขยี นเชือ่ มต่อกับสระ ดงั น้ี

เขยี นคาวา่ )ay // “ขา้ ว”                                )+a+y

นอกจากน้ียังมีคาท่ีมีการเปล่ียนรูปเคร่ืองหมายประกอบการเขียน โดยคาที่มีพยัญชนะต้น

ตัวเดียวและมีเคร่ืองหมายประกอบการเขียนท่ีใช้เปล่ียนเสียงอักษรคือ : (ฟันหนู) และ ‘ (ตรีศัพท์)

ประกอบ ถา้ หากคานนั้ ประสมกับสระที่มีตาแหนง่ อยบู่ นพยญั ชนะ ไดแ้ ก่ สระ -i สระ -I สระ -w สระ -W สระ

-Hi สระ e-I สระ e-O สระ e-o สระ -M สระ -uM และสระ -aM จะต้องเปลี่ยนรูปเครื่องหมายประกอบ

การเขียนทใ่ี ชเ้ ปลีย่ นเสยี งเดมิ เปน็ รูป -u ดงั ตวั อย่าง

เขยี นคาว่า sIu // “กนิ ”(ไมส่ ุภาพ)                       s+u+ I

júaM // “กนิ ”                                             j + u + -aM

4. วธิ ีการเขยี นตวั เลขเขมร

       ตัวเลขเขมรปัจจุบันมีพัฒนาการมาจากตัวอักษรเทวนาครีของอินเดีย ตัวเลขเขมรมีเลข 0-9
วธิ ีการเขยี นเรม่ิ ตน้ จากการเขียนหัวตัวเลขและลากเส้นจากล่างข้ึนบน

ตัวเลขมลู 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตวั เลขเชรียง 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32