Page 26 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 26
2-16 การอา่ นและการเขยี นภาษาเขมร k+a เปน็ ต้น
e+c+A
เขียนคาวา่ ka // “นกกา”
ecA // “หลาน”
นอกจากน้ีคาท่ีมีพยัญชนะต้นตัวเดียว หากมีเครื่องหมายประกอบการเขียนที่ใช้เปลี่ยนเสียง
อักษร คือ : (ฟันหนู) และ ‘ (ตรีศัพท์) ควรเขียนต่อจากพยัญชนะต้น จากนั้นจึงเขียนสระ ตัวสะกด
และเครื่องหมายประกอบการเขยี น (ถา้ ม)ี ต่อไปตามลาดบั ดังตัวอย่าง
เขียนคาวา่ y:ag // “อย่าง” y+ :+a+g
s‘ut // “ไข่” s+ ‘+ u+t
3.2 วิธีการเขียนประสมคาที่มีพยัญชนะซ้อน คาที่มีพยัญชนะซ้อน คือ คาท่ีประกอบด้วย
พยัญชนะตัวเต็มและซ้อนด้วยพยัญชนะตัวเชิง โดยคาท่ีมีพยัญชนะซ้อนในภาษาเขมรมีตาแหน่งอยู่ท้ัง
ต้นคา กลางคา และท้ายคา วิธีการเขียนประสมคาทีม่ ีพยัญชนะซ้อนมีลักษณะโดยรวมเหมือนกับวิธกี าร
เขียนประสมคาทีม่ ีพยัญชนะตน้ ตวั เดยี ว แต่ควรเขียนพยัญชนะตัวตัวเต็มก่อนแล้วเขยี นพยัญชนะตัวเชงิ
ตามเสมอ ดังตวั อย่าง
คาทีม่ ีพยญั ชนะซ้อนต้นคา
เขยี นคาวา่ kþam // “ป”ู k+a+ þ +m
คาที่มพี ยญั ชนะซอ้ นกลางคา
เขียนคาวา่ knúyÞ // “หาง” k+n+ Þ + u+y
คาทม่ี พี ยญั ชนะซ้อนทา้ ยคา
เขยี นคาวา่ citþ // “ใจ” c+ I+t+ þ
ข้อสังเกตพิเศษการเขียนประสมคาท่มี ีพยัญชนะซ้อน ยกเว้นคาน้ันมีพยัญชนะเชิง R ควรเขียน
ไว้หน้าพยัญชนะตัวเต็ม จากน้ันเขียนสระ ตัวสะกด และเคร่ืองหมายประกอบการเขียน ไปตามลาดับ
ดงั ตวั อยา่ ง
เขยี นคาวา่ ERs / / “นา” E + R +s
tRma // “ตารา” t+ R +m + a
sa®sþ // “วชิ า” s+ a + R + s + þ