Page 33 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 33
หลักการเขยี น 2-23
3. คากริยา
คากริยา ในภาษาเขมรเรียกว่า kiriyasBV // เป็นคาท่ีทาหน้าที่แสดงอาการของ
นามและสรรพนาม หรือแสดงการกระทาของประธาน คากริยาเป็นหมวดคาชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญใน
การสร้างประโยคให้มีความสมบูรณ์ ส่วนใหญ่จะมีตาแหน่งอยู่หลังประธาน แต่มีบางประโยคที่ปรากฏ
คากรยิ าอยตู่ ้นประโยค แต่เปน็ การละประธานของประโยคไว้ คากริยาในภาษาเขมรยกตวั อย่าง เช่น
GgÁúy // “นง่ั ”
júaM // “กนิ ”
edIr // “เดนิ ”
mk // “มา”
rk // “หา”
นอกจากน้ี ยังมีการใช้คากริยาหลายคาต่อกนั ในประโยค การใช้คากริยาทตี่ ่อเรียงกันหลายคาน้ี
เปน็ การแสดงอาการทตี่ อ่ เนอ่ื ง เรยี กวา่ “กริยาต่อเนอื่ ง” ยกตัวอยา่ งประโยคเช่น
´GgyÁú júaM )ay.
//
“ฉนั นง่ั กนิ ข้าว”
mþayedIrmkrk´.
/ /
“แม่เดนิ มาหาฉนั ”
4. คาคุณศัพท์
คาคุณศัพท์ ในภาษาเขมรเรียกว่า KuNnam // เป็นคาที่มีหน้าท่ีขยายคานามเพื่อ
แสดงภาพหรือคุณสมบัติให้มีความชัดเจนยิ่งข้ึน มีตาแหน่งอยู่หลังคานามหรือประธานของประโยค
ยกตวั อย่างคาคณุ ศพั ทใ์ นภาษาเขมร เชน่