Page 46 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 46

2-36 การอ่านและการเขียนภาษาเขมร

              ekµgRsIBUEkeron 2 nak; edIrmkehyI .

                    /  /
                    “เดก็ หญงิ เรียนเก่ง 2 คน เดนิ มาแลว้ ”

       1.2 กริยาวลี คือ วลีที่มีคากริยาเปน็ สว่ นประกอบหลัก และถือว่าเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สดุ
ของประโยค โดยส่วนใหญ่กริยาวลีจะปรากฏอยู่หลังประธานของประโยค อาจเป็นคานามหรือนามวลี
ก็ได้ จะมีขอบเขตต้ังแต่คากริยาคาแรก (ที่ต่อจากคานามหรือนามวลี) ไปจนถึงกรรมของประโยคท่ีมี
ใจความสมบูรณ์ กริยาวลีนี้อาจมีคากริยาเพียงตัวเดียวเป็นคาหลัก หรืออาจเป็นคากริยาต่อเนื่อง
(คากริยาที่ตอ่ กันหลายตัว) เปน็ คาหลกั กไ็ ด้

              mþaykk;GavBN’smYyrbs;maNvI .

                    / /
                    “แม่ ซักเสื้อสีขาวของมาณวี”

2. ประโยค

       ประโยค เป็นส่วนหนึ่งทางภาษาทป่ี ระกอบด้วยคาหรือคาหลายคาท่ีมคี วามสัมพนั ธท์ างไวยากรณ์
มาเรียงต่อกัน ประโยคโดยทั่วไปจะประกอบด้วยนามวลี และกริยาวลี ประโยคถือเป็นหน่วยท่ีใหญ่ที่สดุ
ในโครงสรา้ งทางภาษาทแ่ี สดงใจความครบถว้ นสมบรู ณ์ โดยมีภาคประธาน และภาคแสดง เป็นส่วนหลกั
ของประโยค อาจมีส่วนขยายอ่ืนๆ ประกอบเพื่อให้ประโยคมคี วามสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ในการเรียงคาเป็น
ประโยคหรือข้อความ ผู้เขียนจะต้องรู้ความหมายของคา หน้าท่ีของคา และการวางตาแหน่งในประโยค
อย่างถกู ตอ้ งตามไวยากรณ์ เมื่อนาไปผูกเรียบเรยี งเป็นเรอ่ื งราวสามารถสอ่ื สารไดเ้ ข้าใจ

       การเขียนข้อความและการเรียงประโยคในภาษาเขมรมีลักษณะคล้ายกับภาษาไทย กล่าวคือ
แบ่งเป็นภาคประธาน และภาคแสดง มีส่วนขยายอยู่หลังคาท่ตี ้องการขยาย ประโยคพื้นฐานจงึ เรียงด้วย
ประธาน กริยา และกรรม ส่วนขยายหลังส่วนที่ถูกขยาย และมีคาท่ีเรียงอยู่ตามหน้าท่ีของคาต่างๆ กัน
ดังน้ี

ประธาน ขยายประธาน กริยา  กรรม  ขยายกรรม                               ขยายกริยา

(มหี รือไมม่ ีก็ได)้     (มหี รอื ไม่มกี ไ็ ด้) (มีหรือไมม่ กี ็ได)้ (มีหรือไม่มกี ไ็ ด)้
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51