Page 49 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 49

หลกั การเขยี น 2-39

           ตวั อยา่ งประโยคความรวมที่แสดงการใหเ้ ลือกอย่างใดอยา่ งหนง่ึ

               bÚn¥ clU cti jþ úMambðÚ Exµrb¤mbðÚ éf?

                    /  /
                    “น้องชอบกนิ อาหารเขมรหรอื อาหารไทย”

           2.1.3 ประโยคความซ้อน เป็นประโยคที่มีต้ังแต่ 2 ประโยคมารวมกัน โดยมีประโยคหลัก
และอนุประโยคเป็นประโยคขยาย ประโยคความซ้อนจะมีประโยคสาคัญเพียงประโยคเดียว ประโยค
ท่ีประกอบน้ันเป็นเพียงการขยายความจากประโยคหลัก ส่วนประโยคความรวมเป็นประโยคท่ีมี
ความสาคญั เท่ากนั ทุกประโยค ดงั ตัวอย่าง

               RsIEdlBak;GavRkhmedIrclU mkkñúghag)ay.

                    / /
                    “ผูห้ ญงิ ทีใ่ สเ่ สือ้ แดงเดินเข้ามาในรา้ นอาหาร”

               ebImanGVIekIteLIg ´nwgR)abb; gÉg.

                    / /
                    “ถา้ มอี ะไรเกดิ ข้นึ ฉันจะบอกพี่เอง”

       2.2 การแบ่งประโยคตามเจตนา ประโยคท่ีแบ่งตามเจตนาเป็นการจาแนกประโยคโดยพิจารณา
จากเจตนาของผู้ส่งสาร เช่น แสดงการบอกเล่า แสดงการถาม แสดงการปฏิเสธ การแบ่งชนิดประโยค
ตามเจตนาจะพจิ ารณาจากความหมายของประโยคเป็นหลัก ประโยคท่ีแบง่ ตามเจตนาสามารถแบ่งออก
ไดเ้ ปน็ 4 ชนิด ได้แก่

           2.2.1 ประโยคบอกเล่า เป็นประโยคทแี่ สดงความบอกเล่าเรอ่ื งราวตา่ งๆ โดยเป็นประโยคที่
ไมม่ ีคาปฏิเสธ ไมม่ คี าทก่ี ารแสดงการถาม ขอร้อง หรือสงั่ ยกตวั อย่างเชน่

               mþayedIreTATij)anEpøel<AmYyy:agF.M

                    //
                    “แมเ่ ดนิ ไปซ้ือไดฟ้ กั ทองผลใหญ่”
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54