Page 20 - การอ่านและการเขียนภาษาเขมร
P. 20
2-10 การอ่านและการเขยี นภาษาเขมร
ภาพท่ี 2.2 วธิ ีการเขียนพยญั ชนะตวั เตม็ อกั ษรเชรียง
ท่ีมา: sMrit suT§. (2012). PasaExµrsRmab;CnbreTs PaKTI 1. PñMeBj: ed)at: mW :g;PasavTi üaénsaklviTüal½yPUmni ÞPMñeBj, 2.
1.2 วธิ ีการเขยี นพยญั ชนะตวั เชิง ในภาษาเขมรยงั มพี ยัญชนะอกี รปู แบบหนึ่งทีม่ ีลกั ษณะเสมือน
ย่อขนาดให้เล็กกว่ารูปอักษรตัวเต็ม เรียกว่า พยัญชนะตัวเชิง พยัญชนะตัวเชิงทั้งอักษรมูลและอักษร
เชรียงมีลักษณะคล้ายกัน วิธีการเขียนพยัญชนะตัวเชิงมีรูปแบบวิธีเขียนคล้ายพยัญชนะตัวเต็ม แต่มี
ขนาดเลก็ กว่าและเขียนอยูใ่ นตาแหน่งขา้ งใต้ของพยัญชนะตัวเต็มใต้เส้นบรรทัด พยญั ชนะตวั เตม็ ใดที่อยู่
ในกลุ่มอักษรหลายเส้นบางตัว พยัญชนะตัวเชิงจะต่อหางยาวลากข้ึนมาถึงเส้นบรรทัดบนให้เสมอกับ
พยัญชนะตัวเต็ม ตัวอักษรที่ไม่มีรูปพยัญชนะตัวเชิง คือ L การเขียนพยัญชนะตัวเชิงในภาษาเขมร
สามารถแบ่งวิธกี ารเขยี นออกเปน็ กลุ่ม ดังน้ี
1.2.1 กล่มุ ตัวอักษรเส้นเดียว เป็นพยัญชนะตัวเชิงที่เขียนด้วยการลากเส้นเดียวติดต่อกัน
ไปทั้งตัวอักษร โดยเริ่มเขียนหัวอักษรก่อนหากตัวอักษรนั้นมีหัว จากนั้นลากเส้นจากซ้ายไปขวา หรือ
จากบนลงล่าง ตัวอักษรใดท่ีพยัญชนะตัวเต็มมีศก พยัญชนะตัวเชิงจะไม่เขียนศก ตัวอักษรเส้นเดียว
ได้แก่