Page 39 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 39

การตดั ตอ่ ภาพและเสียงภาพยนตร์ 12-29
ผู้ชมรู้สึกต่ืนเต้นไปกับตัวละครหลัก ภายใต้สภาวะการช่วยตัวเองไม่ได้เพราะไปติดอยู่ในสถานที่ที่หนีต่อ
ไม่ได้ หรือติดกับดัก จะรอดพ้นหรือไม่รอดพ้น ผู้ท�ำหน้าท่ีตัดต่อจะคัดเลือกและก�ำหนดจังหวะภาพจาก
ฟุตเทจ หรือช็อตภาพที่ถ่ายท�ำมา และตัดต่อลงเสียงโดยเฉพาะเสียงดนตรีประกอบในลักษณะเสียง
ออกแบบ หรอื ซาวดด์ ไี ซน์ (sound design) เพอื่ กระตนุ้ ความตนื่ เตน้ ไปพรอ้ มการตดิ ตามชมภาพเหตกุ ารณ์
ของฉากภาพยนตร์

เรื่องที่ 12.2.1
การตัดต่อภาพและเสียงภาพยนตร์แนวดราม่า

       ภาพยนตร์แนวดราม่า (drama) เป็นภาพยนตร์ท่ีเน้นการน�ำเสนอเรื่องราว เลียนแบบชีวิตจริง
ภายใตค้ วามหลากหลายของโครงเรื่อง ทม่ี ตี ัวละครหลกั (main character) เปน็ ผทู้ ำ� ใหเ้ กดิ เร่อื งราวและ
นำ� ผูช้ มให้ตดิ ตามเรอ่ื งราวไปพร้อมตัวละครหลัก การปพู ้ืนฐานบคุ ลกิ ลักษณะ (background character)
ของตวั ละครหลกั ทปี่ รากฏในการเลา่ เรอ่ื งภาพยนตรแ์ นวดรามา่ เปน็ สงิ่ ทภี่ าพยนตรจ์ ะนำ� เสนอเพอื่ ใหผ้ ชู้ ม
เขา้ ถงึ ตวั ละคร และการเลา่ เรอื่ งผา่ นบทภาพยนตรจ์ ะตอ้ งมชี นั้ เชงิ การเลา่ หลอกลอ่ ใหผ้ ชู้ มชวนตดิ ตามเรอื่ ง
เลา่ รวมทงั้ อยากตดิ ตามชวี ติ ของตวั ละครสำ� คญั ในเรอื่ งอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตงั้ แตต่ น้ จนจบ ความสนกุ สนานชวน
ติดตามของผู้ชมภาพยนตร์ในแนวดราม่า จะเกิดข้ึนพร้อมกับการสร้างปมปัญหาหรือความขัดแย้งที่เป็น
อปุ สรรคใหเ้ กดิ ขน้ึ ภายใตเ้ หตกุ ารณห์ รอื การกระทำ� ของตวั ละคร เมอื่ ปมปญั หาสำ� คญั ทเี่ กดิ ขนึ้ จากเรอ่ื งเลา่
ภาพยนตร์ดราม่า ดึงความสนใจจากผู้ชม จึงเกิดความต่ืนตัวอยากติดตามไปพร้อมการลุ้นและคาดเดา
ความเข้มข้นของเรื่องจะด�ำเนินไปพร้อมความขัดแย้งท่ีน�ำผู้ชมไปถึงท่ีสุด และต่อเนื่องไปสู่บทสรุป ท่ี
คลคี่ ลายเรอ่ื งราวดรามา่ ทง้ั หมดทเี่ กดิ ขนึ้ ถา้ ผชู้ มดแู ลว้ ลนุ้ ไปกบั ภาพยนตรแ์ นวดรามา่ ความสนกุ จากความ
บันเทิงจะเกิดขึน้ แต่ถ้าภาพยนตร์ดรามา่ เรอื่ งใดไม่สนกุ ผู้ชมจะเบือ่ หน่าย ไมอ่ ยากตดิ ตามชมจนจบเรอ่ื ง
เป็นเพราะไม่มีความรู้สึกสนุกชวนติดตาม หรือผู้ชมท้วงติงไปกับความไม่สมจริงหรือไม่มีเหตุผลของ
ภาพยนตร์ ภาพยนตรด์ ราม่าทดี่ ีจะต้องเลา่ เรื่องผ่านประเด็นเร่อื งทด่ี ี ผชู้ มเขา้ ใจและเข้าถึงประเด็นเรือ่ งได้
โดยง่าย มกี ารแสดงของผ้แู สดงเปน็ ตัวละครส�ำคญั ของเร่ืองถา่ ยทอดบทบาทการแสดงออกมาไดด้ ี และมี
การกำ� กบั การแสดงทเ่ี ขา้ ถงึ ทงั้ การควบคมุ การแสดงเพอ่ื สนองตอบการนำ� เสนอเรอื่ งราวของภาพยนตร์ และ
กำ� กับใจผู้ชมใหเ้ ข้าถงึ ภาพยนตร์หรอื เขา้ ถึงความเปน็ ดราม่าของภาพยนตรไ์ ดเ้ ตม็ อารมณร์ ว่ มของผชู้ ม

       การตดั ตอ่ ภาพยนตรแ์ นวดรามา่ ผตู้ ดั ตอ่ ภาพยนตรจ์ ะตอ้ งเขา้ ถงึ ความเปน็ ภาพยนตรด์ รามา่ จาก
การรับรู้ความต้องการและสิ่งท่ีผู้ก�ำกับภาพยนตร์มีแนวทางในการก�ำกับภาพยนตร์อย่างไร ซ่ึงผู้ก�ำกับ
ภาพยนตร์บางคนจะท�ำไดเรกเตอร์ สเตทเมนท์ (director statement) หรือแถลงการณ์ของผู้ก�ำกับ
ภาพยนตรแ์ สดงถงึ มมุ มอง ความคดิ และแสดงรายละเอยี ดทมี่ ตี อ่ ภาพยนตรอ์ ยา่ งชดั เจน ทำ� ใหผ้ ตู้ ดั ตอ่ รบั
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44