Page 55 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 55

การตัดต่อภาพและเสียงภาพยนตร์ 12-45

เรื่องที่ 12.3.2
ประเภทของเสียงท่ีใช้ในการตัดต่อเสียงภาพยนตร์

       การตัดต่อเสียงภาพยนตร์เป็นสิ่งส�ำคัญเคียงคู่การตัดต่อภาพของภาพยนตร์ ระหว่างการตัดต่อ
ภาพจะมกี ารตดั ตอ่ เสยี งทเี่ กดิ ขนึ้ พรอ้ มกบั การถา่ ยทำ� ภาพยนตรไ์ ปพรอ้ มกนั นอกจากนน้ั เสยี งบางประเภท
จะเกดิ ขนึ้ ภายหลงั การตดั ตอ่ ภาพเสรจ็ สนิ้ เสยี งประเภทนเ้ี ปน็ เสยี งทบ่ี นั ทกึ ภายหลงั การถา่ ยทำ� ภาพยนตร์
และเป็นเสียงที่ถูกแต่งขึ้นเพื่อน�ำมาใช้ประกอบการตัดต่อให้สอดคล้องกับอารมณ์ของภาพยนตร์ในแต่ละ
ฉากเสยี งทนี่ ำ� มาใช้ประกอบการตัดตอ่ ภาพยนตรจ์ ึงมีหลายประเภทเสยี ง สรปุ ได้ ดงั นี้

       1. 	เสียงสนทนา (dialogue) คอื เสยี งพดู ของตวั ละครทถ่ี กู บนั ทกึ ไปพรอ้ มการถา่ ยทำ� ภาพยนตร์
โดยมกี ารแสดงเปน็ ทม่ี าสำ� คญั ของบทพดู ตามทบี่ ทภาพยนตรก์ ำ� หนดไว้ เมอ่ื นำ� ฉากทตี่ วั ละครมบี ทสนทนา
ไปตัดต่อภายหลังการถ่ายท�ำภาพยนตร์ เสียงพูดตัวละครที่ถูกบันทึกไปพร้อมการถ่ายท�ำแต่ละช็อต จะ
ถกู นำ� ไปตดั ตอ่ ทำ� ใหภ้ าพและเสยี งสมั พนั ธก์ นั หรอื บทสนทนาตรงกบั ปากตวั ละครทพี่ ดู บทสนทนา หรอื บาง
กรณีเสียงพูดของตัวละครไม่จ�ำเป็นที่จะน�ำไปตัดต่อเสียงให้ตรงกับช็อตท่ีตัวละครพูดแต่น�ำไปตัดต่อเสียง
พดู ในช็อตท่ีรับหน้าผ้ฟู งั การสนทนาของตวั ละครแทน

       2. 	เสียงบรรยากาศ หรือเรียกว่า เสียงแอมเบียนซ์ (ambience) เป็นเสยี งท่เี กดิ ขน้ึ เพอ่ื แสดงว่า
ฉากการถ่ายท�ำภาพยนตร์ในฉากนนั้ เกดิ ขนึ้ ในท่ใี ด เสยี งบรรยากาศของสถานท่ีน้นั จะถูกบนั ทึกเสยี งภาย
หลงั การถา่ ยทำ� ภาพยนตรใ์ นฉากนน้ั ๆ และนำ� ไปใชป้ ระกอบการผสมเสยี งในชว่ งของการตดั ตอ่ ภาพยนตร์
เช่น ฉากภาพยนตร์ก�ำหนดตัวละครคุยกันสองต่อสองในห้องท�ำงาน เสียงบรรยากาศของฉากนี้คือเสียง
การทำ� งานของเครอ่ื งปรบั อากาศ จะบนั ทกึ เสยี งภายหลงั การถา่ ยทำ� ตวั ละครทง้ั สองแสดงในฉากนเี้ สรจ็ สนิ้
ผทู้ ำ� หนา้ ทบ่ี นั ทกึ เสยี งภาพยนตรจ์ ะขอใหเ้ งยี บเสยี งทกุ สง่ิ ในหอ้ ง เพอ่ื อดั บนั ทกึ ใหไ้ ดเ้ ฉพาะเสยี งบรรยากาศ
ของหอ้ งทเี่ ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศในฉากนี้ เปน็ ตน้ เสยี งบรรยากาศจะนำ� ไปตดั ตอ่ เสยี งปเู ปน็ เสยี งเบอื้ งหลงั
หรอื เสยี งแบค็ กราวดข์ องฉาก ใหค้ วามกลมกลนื ไปพรอ้ มกบั เสยี งสนทนาตวั ละครทถ่ี อื วา่ เปน็ เสยี งหลกั ของ
ฉาก

       3. 	เสียงเหนือฉาก หรือเรียกว่า วอยซ์โอเวอร์ (voice over) หรือ วีโอ (V.O.) เปน็ เสยี งพดู ของ
ตัวละคร ท่ีถูกน�ำมาใช้ในลักษณะของเสียงบรรยายประกอบช็อตภาพเหตุการณ์ฉากเดียวหรืออาจจะเป็น
ชอ็ ตภาพจากหลายฉากมาตดั ตอ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเลา่ เรอ่ื งซงึ่ มเี สยี งวโี อเปน็ ตวั น�ำ การบนั ทกึ เสยี งเหนอื
ฉากของตัวละคร จะใช้เสียงของตัวละครท�ำการบันทึกเสียงภายหลังการถ่ายท�ำ หรือบันทึกเสียงแยกไม่
เก่ยี วกบั การถา่ ยทำ� ซ่ึงบทภาพยนตร์จะกำ� หนดเสยี งเหนอื ฉากของตวั ละครไว้

       4. 	เสียงดนตรีประกอบภาพยนตร์ (music score) คือเสียงดนตรีที่ถูกแต่งขึ้นมาเพื่อเสริมหรือ
สอื่ อารมณป์ ระกอบภาพเหตกุ ารณใ์ นฉากภาพยนตร์ เสยี งดนตรปี ระกอบภาพยนตรจ์ ะถกู แตง่ ขนึ้ มาภายหลงั
การตดั ตอ่ ภาพยนตรเ์ สรจ็ สนิ้ ทงั้ เรอื่ ง ผทู้ ำ� หนา้ ทแี่ ตง่ ดนตรปี ระกอบภาพยนตรจ์ ะไดร้ บั การพดู คยุ กบั ผกู้ ำ� กบั
ภาพยนตร์เพ่อื รบั ร้แู นวทางการน�ำเสนอภาพยนตรท์ ผี่ ู้ก�ำกบั เปน็ ผ้กู �ำหนด รวมทง้ั รบั ฟังความคิดเห็นของ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60