Page 12 - ลักษณะภาษาไทย
P. 12
4-2 ลักษณะภาษาไทย
แผนการสอนประจาหน่วย
ชุดวชิ า ลักษณะภาษาไทย
หน่วยที่ 4 วลีและอนุประโยคในภาษาไทย
ตอนที่
4.1 วลีในภาษาไทย
4.2 อนปุ ระโยคในภาษาไทย
แนวคดิ
1. การศึกษาวิเคราะห์วลีและอนุประโยคในภาษาไทยมีหลายวิธีข้ึนอยู่กับทฤษฎีที่นามาใช้
ศึกษา ทฤษฎีที่นิยมนามาใช้วิเคราะห์ภาษาไทยมากที่สุดคือไวยากรณ์โครงสร้าง
(structural Grammar) ทฤษฎีน้ีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ช่วงตามพัฒนาการของเนื้อหา
และวิธีวิเคราะห์ข้อมูล คือ ไวยากรณ์โครงสร้างตามหนังสือโครงสร้างภาษาไทย: ระบบ
ไวยากรณ์ พ.ศ. 2520 และไวยากรณ์โครงสร้างตามหนังสือบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3
พ.ศ. 2551
2. ก. วลี หมายถึง หน่วยทางภาษาที่สูงกว่าคา (word) แต่ต่ากว่าอนุประโยค (clause) เป็น
ส่วนประกอบของประโยค อาจจะเป็นคาคาเดยี วหรอื กลมุ่ คากไ็ ด้
ข. วลีต่างจากคาประสมคือ วลีสามารถเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบได้ แต่คาประสม
เปลยี่ นแปลงสว่ นประกอบไม่ได้
ค. วลแี บง่ ออกเป็น 5 ชนดิ ได้แก่ นามวลี กริยาวลี วิเศษณ์วลี บพุ บทวลี และปริมาณวลี
ง. วลีมีหน้าทใ่ี นประโยคอยู่ 6 หนา้ ท่ี ได้แก่ หน่วยประธาน หน่วยกรยิ า หน่วยกรรม หน่วย-
ขยาย หนว่ ยเติมเต็ม และหน่วยเสริมความ
3. ก. อนุประโยค หมายถึง หน่วยทางภาษาที่สูงกว่าวลี (phrase) แต่ต่ากว่าประโยค
(sentence) มีโครงสร้างเหมือนประโยคทมี่ ภี าคแสดง 1 ภาค ปรากฏตามลาพังไมไ่ ด้ แต่
ตอ้ งประกอบอยกู่ ับประโยคหลักหรอื มขุ ยประโยค