Page 16 - ลักษณะภาษาไทย
P. 16
4-6 ลักษณะภาษาไทย
ความนา
การศึกษาวิเคราะห์วลี อนุประโยคและประโยคในภาษาไทยนั้นมีหลายวิธีข้ึนอยู่กับทฤษฎีทาง
ภาษาศาสตรท์ ่ีนามาใช้วิเคราะห์ สาหรับนักภาษาศาสตร์ชาวไทย สว่ นใหญ่ใชท้ ฤษฎไี วยากรณ์โครงสร้าง
(structural grammar) ตามแนวคิดของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิจินตน์ ภาณุพงศ์ ไวยากรณ์
โครงสร้างได้รับความนิยมเนื่องจากมีวัตถุประสงค์เพ่ือมุ่งอธิบายระบบของภาษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์
วิเคราะห์เฉพาะรูปภาษาที่ปรากฏซึ่งเห็นเป็นรูปธรรม แนวคิดทฤษฎีทางภาษาศาสตร์บางทฤษฎีมุ่ง
ศึกษาลักษณะภาษาท่ีเป็นสากลหรือสะท้อนให้เห็นกระบวนการทางสมองและสติปัญญาของมนุษย์ ซ่ึง
อาจเกินความจาเป็นหรือความต้องการของผู้ใช้ภาษา นักภาษาศาสตร์ชาวไทยจึงมุ่งศึกษาในระดบั ที่จะ
นาไปใช้ประโยชน์ได้และใช้แนวคิดท่ียึดรูปภาษาที่ปรากฏเป็นหลัก ทาให้เห็นลักษณะภาษาที่เป็น
รปู ธรรม (ชลธิชา บารงุ รักษ์, 2541, น. 58)
ด้วยเหตุผลที่ยกมาข้างต้น ในหน่วยน้ีจึงจะอธิบายวลีและอนุประโยคในภาษาไทยตามทฤษฎี
ไวยากรณ์โครงสรา้ งเปน็ หลัก ในบางหัวข้อกจ็ ะกลา่ วถงึ ไวยากรณด์ ้งั เดิม (traditional grammar) ตามท่ี
ปรากฏอยู่ในหนังสือหลักภาษาไทย: อักขรวิธี วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ ฉันทลักษณ์ ของพระยาอุปกิต-
ศิลปสารควบคู่ไปด้วย เพราะหนังสือเล่มน้ีใช้กันมาก่อนท่ีจะมีสาขาวิชาภาษาศาสตร์ แม้ว่าเนื้อหาจะมี
ความลักลั่นอยู่บ้าง แต่ก็มีหลายแห่งที่ลึกซ้ึง เป็นเหตุเป็นผล และใช้เป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์
วากยสัมพันธ์มาจนทุกวันน้ี (อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธ์ุ, 2554, น. 10) หนังสือเล่มน้ียังเป็นรากฐานสาคัญ
ของตาราเรยี นภาษาไทยในปจั จุบนั คอื หนงั สอื อเุ ทศภาษาไทย ชดุ บรรทัดฐานภาษาไทยอกี ด้วย
ก่อนจะกล่าวถึงเนอื้ หาของวลีและอนุประโยคในภาษาไทยจะขอกล่าวถึงความหมายของคาศัพท์
เฉพาะท่ีใช้ในหน่วยน้ีก่อนเพื่อความเข้าใจท่ีตรงกัน เพราะหนังสือแต่ละเล่มอาจใช้คาศัพท์ไม่เหมือนกัน
ทั้งน้ีไม่ได้มุ่งหวังให้นักศึกษาท่องจาความหมายของคาศัพท์เหล่าน้ีแต่อย่างใด คาอธิบายส่วนใหญ่
ปรบั จากพจนานกุ รมศพั ทภ์ าษาศาสตร์ (ภาษาศาสตรท์ ั่วไป) ฉบบั สานกั งานราชบัณฑติ ยสภา แตไ่ ดป้ รับ
คาอธบิ ายบา้ งเพอ่ื ใหพ้ อเหมาะแกเ่ นอื้ หาในหน่วยน้ี ดังนี้
หน่วยสร้าง (construction) คือ โครงสร้างทางไวยากรณ์ของประโยคหรือหน่วยที่เล็กกว่า
ประโยค ไดแ้ ก่ หนว่ ยสร้างวลี หน่วยสรา้ งคา ซง่ึ เปน็ หนว่ ยอิสระ เช่น นามวลี ร้านน้ี ประกอบด้วย หน่วย
สรา้ งคานาม ร้าน และหนว่ ยสร้างคาบอกกาหนดช้เี ฉพาะ นี้ และจะเรียกคานาม ร้าน และคาบอกกาหนด
ชี้เฉพาะ นี้ ว่า ส่วนประกอบ (constituent) หน่วยสร้างมี 2 ชนิดคือ หน่วยสร้างวงในและหน่วยสร้าง
วงนอก