Page 20 - ลักษณะภาษาไทย
P. 20
4-10 ลักษณะภาษาไทย
แบบเรยี นภาษาไทยชื่อแบบเรียนใหม่ ของเจ้าพระยาธรรมศกั ดิ์มนตรี พิมพ์เผยแพรค่ รั้งแรกเมื่อ
ปี พ.ศ. 2477 ไดใ้ หค้ วามหมายของวลีไว้วา่
คาหลายคารวมกันอา่ นได้ความ แต่ไม่มสี ว่ นครบเป็นประโยคได้
(เจ้าพระยาธรรมศกั ดิ์มนตรี, 2477, น. 54)
เจ้าพระยาธรรมศักดม์ิ นตรไี ด้ยกตัวอย่างประโยค นายทะนงนักเรียนโรงเรียนนไี้ ด้รบั รางวัล คือ
หนังสือตะเลงพ่าย ในท่ามกลางที่ประชุมโรงเรียน และแสดงตัวอย่างของวลีท่ีเป็นส่วนประกอบใน
ประโยคข้างตน้ จานวน 3 วลี ไดแ้ ก่ นักเรยี นโรงเรียนนี้, คือหนังสอื ตะเลงพา่ ย และ ในทา่ มกลางทป่ี ระชมุ
โรงเรยี น
หนังสือหลักภาษาไทย เล่ม 3 วากยสัมพันธ์ ของพระยาอุปกิตศิลปสารซึ่งเป็นแบบเรียน
หลักภาษาไทยที่มีการอ้างอิงกันอย่างกว้างขวาง พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเม่ือปี พ.ศ. 2480 ได้ให้
ความหมายของวลีไว้วา่
วลีคือคาท่ีติดต่อกันตั้งแต่ 2 คาข้ึนไป ซึ่งมีความหมายติดต่อเป็นเร่ืองเดียวกัน แต่
เป็นเพยี งสว่ นหนง่ึ ของประโยค
(พระยาอุปกิตศิลปสาร, 2480, น. 4-5)
วลีน้ันได้แก่กลุ่มแห่งคาหมู่หนง่ึ ๆ มีจานวนคาตั้งแต่ 2 คาข้ึนไป และไม่มีความครบที่
จะเป็นประโยคได้ จะขึ้นต้นด้วยคาชนิดไรก่อนก็ได้ และมีคาพ่วงท้ายออกไปอีกคาหน่ึง หรือ
มากกวา่ ก็ได้ เรียกว่าวลีทงั้ ส้นิ
(พระยาอปุ กติ ศลิ ปสาร, 2480, น. 11)
หนังสือไวยากรณ์ไทยสาหรับช้ันมัธยมปี ที่ 4 ขุนสุนทรภาษิตเป็นผู้เรียบเรียงและหลวงดรุณกิจ-
วิทูรเป็นผูแ้ ก้ไข พิมพเ์ ผยแพร่เมอื่ ปี พ.ศ. 2490 ไดใ้ หค้ วามหมายของวลไี วว้ ่า