Page 21 - ลักษณะภาษาไทย
P. 21

วลีและอนุประโยคในภาษาไทย 4-11

           วลี คือ กลุ่มคาตั้งแต่ 2 คาข้ึนไป ติดต่อในที่แห่งเดียวกัน ยังไม่มีความหมาย
    ครบบริบูรณ์ และกลุ่มคาเหล่านี้ไม่ใช่คาประสม เป็นคาต่อคา เป็นคาขยายคา มีเน้ือความ
    เกี่ยวเนื่องกัน คาวลีจะขึ้นต้นด้วยคาอะไรก็ได้ มีคาต่อท้ายไปอีกคาหนึ่งหรือหลายคา เวลา-
    กระจายคา วลีแยกออกเป็นคาๆ ได้ แตค่ าประสมนัน้ จะแยกเป็นคาๆ ไม่ได้ ต้องรวมกนั

                                                       (ขุนสุนทรภาษติ , 2490, น. 64)

       หนังสือหลักภาษาไทยของพระวรเวทย์พิสิฐ พิมพ์เผยแพร่คร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้ให้
ความหมายของวลีไวว้ ่า

           ถ้อยคาท่ีเรียบเรียงเป็นข้อความได้ความเข้าใจกัน แต่ไม่ขาดกระแสความลงไปว่า
    อะไรทาอะไร โดยมากขาดส่วนประธาน เช่น รมู้ ากยากนาน รนู้ ้อยพลอยราคาญ และโลภมาก
    ลาภหาย ดังน้ีเป็นต้นข้อความเหล่านั้นเข้าใจกันดี แต่ไม่มีตัวเป็นประธานว่าอะไรรู้มาก
    ใครรนู้ อ้ ยพลอยราคาญ และใครโลภมาก

                                                      (พระวรเวทยพ์ สิ ิฐ, 2502, น. 93)

       จากความหมายของวลีตามแนวไวยากรณ์ดั้งเดิมในแบบเรียนหลักภาษาไทยในอดีตพอจะสรุป
ไดด้ งั นี้

       1. ด้านโครงสร้าง วลีต้องประกอบขึ้นจากคาต้ังแต่ 2 คาข้ึนไป ดังน้ันในตาราบางเล่มที่ยึดตาม
แนวไวยากรณ์ด้งั เดมิ จงึ เรียกวลีวา่ กลมุ่ คา

       2. ด้านหน้าท่ี วลไี ม่จาเปน็ ต้องทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบของประโยค
       3. ด้านความหมาย วลีพอจะสื่อความหมายได้แต่ไม่สมบูรณ์ เช่น ยังขาดประธาน กริยา หรือ
กรรม

2. ความหมายของวลตี ามไวยากรณ์โครงสร้าง

       ไวยากรณ์ด้ังเดิมที่กล่าวในหัวข้อที่ผ่านมา ยังไม่ถือว่าเป็นการศึกษาภาษาด้วยวิธีการ
วิทยาศาสตร์ กล่าวคือ ไม่ได้เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลจริง มองว่าภาษาเขียนดีกว่าภาษาพูดเพราะ
สละสลวยมากกว่า และมองการเปล่ียนแปลงของภาษาว่าเป็นความเสื่อมถอยของภาษา นอกจากนี้
ยังไม่ได้ใช้เคร่ืองมือท่ีเป็นกลางในการวิเคราะห์ภาษา กล่าวคือ เม่ือจะวิเคราะห์ภาษาใดก็นาผลการ
วิเคราะห์อีกภาษาหนึ่งมาเป็นแม่แบบ เช่น นาผลการวิเคราะห์ภาษาบาลีมาเป็นแม่แบบในการวิเคราะห์
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26