Page 25 - ลักษณะภาษาไทย
P. 25

วลแี ละอนปุ ระโยคในภาษาไทย 4-15

       จากความหมายของวลีตามแนวไวยากรณ์ด้ังเดิมและไวยากรณ์โครงสร้างสามารถสรุปได้
ดงั ตารางต่อไปน้ี

วลตี ามแนวไวยากรณ์ด้งั เดมิ         วลตี ามแนวไวยากรณ์โครงสร้าง

1 เนน้ ขอ้ มูลที่เปน็ ภาษาเขียน     เนน้ ข้อมูลทเ่ี ป็นภาษาพดู

2 เป็นกลุ่มคาต้ังแต่ 2 คาข้ึนไป และไม่จาเป็นต้อง เป็นคาคาเดียวก็ได้ เป็นกลุ่มคาก็ได้ แต่ต้อง

ทาหน้าที่เปน็ สว่ นประกอบของประโยค  ทาหน้าทีใ่ นประโยค

3 ใหค้ วามสาคัญเร่อื งความหมาย กล่าวคอื วลียงั มี ให้ความสาคัญเรื่องหน้าท่ี ว่าคาหรือกลุ่มคา

ความหมายไมส่ มบูรณ์                 นั้นสามารถทาหน้าที่ในประโยคได้หรือไม่

                                    เช่น ทาหน้าท่ีเป็นประธานของประโยค

                                    ทาหน้าที่เป็นกริยาของประโยค ฯลฯ

       อนึ่ง หนังสือท่ยี กมาอ้างองิ ขา้ งต้นล้วนแตเ่ ปน็ หนงั สอื ทไ่ี ด้รบั การยอมรบั วา่ มมี าตรฐานทงั้ 3 เลม่
และศาสตราจารยก์ ิตติคณุ ดร.วจิ นิ ตน์ ภาณุพงศ์ ลว้ นแต่มีสว่ นในการจดั ทาเน้อื หาท้ังสิน้ อยา่ งไรก็ดเี มื่อ
พิจารณาการแบ่งชนิดของโครงสร้างภาษาไทยในหนังสือทั้ง 3 เล่ม ก็ไม่ได้มีเน้ือหาเหมือนกันทั้งหมด
เน้ือหาในช่วงหลังๆ ได้มีการปรับปรุงให้กระชับและทันสมัยยิ่งขึ้น สามารถกล่าวได้ว่าการวิเคราะห์
ภาษาไทยด้วยไวยากรณ์โครงสร้างของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิจินตน์และบรรดาลูกศิษย์ก็ได้มี
การพัฒนาเร่ือยมา โดยอาจจะแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ ไวยากรณ์โครงสร้างตามหนังสือโครงสร้าง
ภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์ พ.ศ. 2520 และ ไวยากรณ์โครงสร้างตามหนังสือบรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3
พ.ศ. 2551 ดงั จะไดก้ ล่าวถงึ ต่อไปในเรื่องท่ี 4.1.2 ชนิดของวลี

3. ความแตกต่างระหว่างวลกี บั คาประสม

       ในการวิเคราะห์วลีในภาษาไทย สิ่งหน่ึงท่ีควรคานึงถึงก็คือความแตกต่างระหว่างวลีกับ
คาประสม คาประสมเป็นการสร้างคาโดยนาคาต้ังแต่ 2 คาข้ึนไปมาประสมกันขึ้นเป็นคาใหม่ โดยมี
คาหนึ่งเป็นคาหลัก และอีกคาหนึ่งเป็นหน่วยขยาย ความหมายของคาประสมจะอยู่ที่คาหน้า และคาท่ี
เกิดใหม่จะมีความหมายใหม่ตามเค้าของคาเดิม (อนันต์ ทรงวิทยา และนวรัตน์ ทรงวิทยา, 2524,
น. 80) ยกตัวอย่างเช่น คาว่า ปากกา สามารถเป็นได้ท้ังวลีและคาประสม ถ้าเป็นวลี ปากกา ก็จะ
หมายถงึ “ปากของอีกาซ่ึงเป็นนกชนิดหน่งึ ทม่ี ขี นดาท้ังตัว” ประกอบข้นึ จากคานาม 2 คา คอื ปาก และ
กา แต่ถ้าเป็นคาประสม ปากกา ก็จะหมายถึง “เครื่องสาหรับขีดเขียนท่ีใช้น้าหมึก” ซ่ึงเป็นคาที่มี
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30