Page 28 - ลักษณะภาษาไทย
P. 28

4-18 ลักษณะภาษาไทย

       4. วลตี า่ งจากคาประสม คอื วลีสามารถเปลยี่ นแปลงสว่ นประกอบได้ แตค่ าประสมเปล่ยี นแปลง
ส่วนประกอบไมไ่ ด้ เชน่

           รถใหญ่ เปน็ นามวลี ถ้าเตมิ คาเขา้ ไป เชน่ รถคนั ใหญ่ ก็ยงั คงเป็นนามวลี
           ใจใหญ่ เป็นคาประสม หมายถึง “มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เกินฐานะ” เปล่ียนแปลงไม่ได้
เชน่ ถ้าเติมคาวา่ ดวง เข้าไปเปน็ ใจดวงใหญ่ ความหมายก็จะไม่เหมือนเดิม

เร่ืองท่ี 4.1.2
ชนิดและหน้าท่ีของวลี

       ต่อไปจะกล่าวถึงชนิดของวลีตามไวยากรณ์ด้ังเดิมและชนิดของวลีตามไวยากรณ์โครงสร้าง
ตามลาดบั ดังน้ี

1. ชนิดของวลตี ามไวยากรณ์ด้งั เดมิ

       พระยาอุปกิตศิลปสาร (2480, น. 4) ได้แบ่งชนิดของคาในภาษาไทยออกเป็น 7 ชนิด ได้แก่
คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวเิ ศษณ์ คาบุพบท คาสนั ธาน และคาอทุ าน (ดเู พมิ่ เติมในหนว่ ยท่ี 3 คา
และการสรา้ งคาในภาษาไทย) จากคาท้งั 7 ชนิดน้ี พระยาอุปกติ ศลิ ปสาร (2480, น. 12-22) ก็ได้แบง่ วลี
ในภาษาไทยออกเป็น 7 ชนิดเช่นกัน โดยเรียกชื่อวลีตามชนิดของคาท่ีอยู่ข้างหน้า เช่น ถ้าคาข้างหน้า
ของวลีเป็นคานามก็จะเรียกว่า นามวลี ตัวอย่างข้างล่างน้ีคือวลีท่ีแบ่งตามชนิดของคา คาท่ีพิมพ์ด้วย
ตวั หนาคอื ชนดิ ของคาทเ่ี ปน็ ที่มาของช่ือวลนี ั้นๆ ซง่ึ อาจจะไม่ตรงกบั ทรรศนะของนักภาษาศาสตร์ในสมัย
ปัจจุบันเสยี ทเี ดียว ดงั นี้

       1) นามวลี เชน่ นกขนุ ทอง เมืองตรงั ลาหนึ่ง การกนิ ขา้ วจุ หนงั สอื ภาษาไทย
       2) สรรพนามวลี เช่น ขา้ พระบาทยุคล ขา้ เบอื้ งยุคลบาท ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย เขาเหลา่ น้ี
       3) กรยิ าวลี เช่น นัง่ ร้องเพลง ทางานหนัก เป็นหนังหนา้ ไฟ วงิ่ ทะยาน รอ้ งเสียงหลง
       4) วเิ ศษณ์วลี เช่น งามเหลอื ประมาณ ดเี หลือเกนิ ไกลสุดลูกหูลูกตา ไพเราะเสนาะหู
       5) บพุ บทวลี เชน่ ในบ้าน จากที่อยู่ สาหรบั ดเู ลน่ เปน็ ขวัญตา ด้วยความรคู้ วามสามารถ
       5) สนั ธานวลี เช่น ถงึ กระน้ันก็ดี ถงึ กระนนั้ ก็ตาม เพราะฉะนัน้ ดว้ ยเหตนุ ี้
       6) อุทานวลี เช่น โอ๊ย ตายแลว้ ! คณุ พระช่วย! ลกู รกั เจา้ แม่เอย๋ !
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33