Page 29 - ลักษณะภาษาไทย
P. 29
วลีและอนปุ ระโยคในภาษาไทย 4-19
2. ชนดิ ของวลตี ามไวยากรณ์โครงสร้าง
ดังได้กล่าวแล้ววา่ เน้ือหาและวิธกี ารวิเคราะห์ภาษาไทยดว้ ยทฤษฎีไวยากรณ์โครงสร้างได้มีการ
พัฒนาเป็นระยะๆ โดยอาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ ไวยากรณ์โครงสรา้ งตามหนังสอื โครงสร้างภาษาไทย:
ระบบไวยากรณ์ พ.ศ. 2520 และไวยากรณโ์ ครงสรา้ งตามหนังสอื บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3 พ.ศ. 2551
การวิเคราะหแ์ ละการจดั แบง่ ชนิดของวลีในภาษาไทยก็แบง่ ออกเปน็ 2 ชว่ งดงั ท่กี ลา่ วมาเช่นกัน ต่อไปจะ
กลา่ วถึงชนดิ ของวลตี ามไวยากรณ์โครงสร้างในแตล่ ะชว่ ง
2.1 ชนิดของวลีในภาษาไทยตามไวยากรณ์โครงสร้างตามหนังสือโครงสร้างภาษาไทย: ระบบ
ไวยากรณ์ พ.ศ. 2520 การแบ่งชนิดของวลีในภาษาไทยตามทฤษฎีไวยากรณ์ในช่วงแรกตามหนังสือ
โครงสร้างภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์ พ.ศ. 2520 นั้น ไดแ้ บง่ วลอี อกเป็น 5 ชนิด ไดแ้ ก่ นามวลี กริยาวลี
พิเศษวลี สถานวลี กาลวลี (วิจินตน์ ภาณุพงศ์, 2525, น. 79-81; วจิ นิ ตน์ ภาณพุ งศ,์ 2548, น. 155-171)
ดังน้ี
2.1.1 นามวลี หมายถึง คานามคาเดียว คาสรรพนามคาเดียว คานามกับส่วนขยาย หรือ
คาสรรพนามกับส่วนขยาย ซึ่งทาหน้าท่ีเป็นส่วนของประโยคประเภทนามชนิดใดชนิดหนึ่งใน 4 ชนิดน้ี
คือ หน่วยประธาน (ป) หน่วยกรรมตรง (ต) หน่วยกรรมรอง (ร) และหน่วยนามเด่ียว (ด) (วลีท่ีพิมพ์
ตัวเอนคือวลที ่เี ปน็ หน่วยหนา้ ท่ีในประโยคตามแตล่ ะหวั ข้อ)
ตวั อย่าง
1) หนว่ ยประธาน (ป)
บ้านหลงั นนั้ สวยดี
ต้นไมบ้ างชนิด ไม่มี ดอก
2) หนว่ ยกรรมตรง (ต)
ตอนน้ี คน ไม่ค่อยซ้ือ รถใหญ่
เขา จะขาย หนังสอื 2 เล่มน้นั ใคร
3) หน่วยกรรมรอง (ร)
ฉนั จะบอก ข่าวดี เพอื่ นสนทิ
แม่ให้ขนมน้องๆ ทั้ง 2 คน
4) หนว่ ยนามเดี่ยว (ด)
แม่
สบู่ กอ้ นเดียวเทา่ นั้น