Page 34 - ลักษณะภาษาไทย
P. 34

4-24 ลักษณะภาษาไทย
       5. ปริมาณวลีในไวยากรณ์โครงสร้างช่วงหลังได้รับการวิเคราะห์ให้เป็นนามวลี (ชนิดที่เป็น

หน่วยจานวน) ในไวยากรณ์โครงสร้างในช่วงแรก เพราะวลีชนิดนี้จะต้องปรากฏร่วมกับคานามโดยมี
คาลักษณนามอย่างน้อย 1 คา เช่น กระเปา๋ 2 ใบ, มะนาวสัก 2 ลกู , น้าตาล 3 ช้อนกวา่

3. โครงสร้างของวลใี นภาษาไทย

       วลีเป็นหน่วยสรา้ งท่มี ีสว่ นประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วยหลักกบั หน่วยขยาย หน่วยหลักจะต้อง
ปรากฏเสมอ แตห่ น่วยขยายนั้นจะปรากฏหรือไมก่ ็ได้ หนว่ ยหลกั จะเป็นคาหรอื กลุม่ คา ส่วนหนว่ ยขยาย
สามารถเป็นได้ท้ังคา กลุ่มของคาชนิดเดียวกัน (เช่น กลุ่มนาม กริยาเรียง) วลี หรืออนุประโยคก็ได้
ต่อไปจะกล่าวถึงโครงสร้างของนามวลี กริยาวลี วิเศษณ์วลี บุพบทวลี และปริมาณวลีตามลาดบั ในการ
แสดงตวั อยา่ งวลีจะแสดงด้วยอกั ษรตวั เอน และแสดงทั้งประโยคเพ่ือให้เห็นถงึ หน้าทขี่ องวลีไปพรอ้ มกัน

       3.1 นามวลี โครงสร้างของนามวลีในภาษาไทยมีหน่วยสร้างที่มีคานาม คาสรรพนาม หรือ
กลุ่มนามเป็นหน่วยหลัก จะมีหน่วยขยายหรือไม่ก็ได้ ถ้าหากมีหน่วยขยายซ่ึงทาหน้าที่ขยายหน่วยหลัก
หนว่ ยขยายน้นั อาจจะเป็นคา กลุ่มนาม วลี หรืออนปุ ระโยคก็ได้ ดังภาพท่ี 4.2

                        ภาพท่ี 4.2 โครงของสร้างนามวลใี นภาษาไทย

       ตอ่ ไปจะกลา่ วถึงโครงสร้างของนามวลดี งั ภาพท่ี 4.2 ไปตามลาดบั ดังน้ี
           3.1.1 นามวลีท่ีมีเฉพาะหน่วยหลัก หน่วยหลักของนามวลีอาจเป็นคานาม คาสรรพนาม

หรอื กลุ่มนามก็ได้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39