Page 39 - ลักษณะภาษาไทย
P. 39

วลแี ละอนปุ ระโยคในภาษาไทย 4-29

                           ภาพที่ 4.3 โครงสร้างของกริยาวลใี นภาษาไทย

           3.2.1 หน่วยหลักของกริยาวลี อาจเปน็ คากรยิ าหรอื คากรยิ าเรยี งกไ็ ด้ ตวั อยา่ งเช่น
               ก. นกบิน
               ข. แม่ห่ันผกั
               ค. ควายเดนิ ไปมา
               ง. แม่น่ังหวั เราะทีห่ น้าบ้าน

           จากประโยคในตัวอย่าง ก. มีกริยาวลีคือ บิน โดยมีชนิดของคาในหน่วยหลักของกริยาวลี
เป็นคากริยา คือ บิน เหมือนกัน จากประโยคในตัวอย่าง ข. มีกริยาวลีคือ หั่นผัก โดยมีหน่วยหลักของ
กริยาวลีเป็นคากริยา ห่ัน จากประโยคในตัวอย่าง ค. มีกริยาวลีคือ เดินไปมา โดยมีหน่วยหลักของ
กริยาวลีเปน็ คากรยิ าเรยี งคือ เดนิ ไปมา เหมือนกนั จากประโยคในตัวอยา่ ง ง. มีกริยาวลีคือ นัง่ หัวเราะท่ี
หน้าบ้าน โดยมีหน่วยหลักของกริยาวลีเป็นคากริยาเรียงคือ น่ังหัวเราะ (ดูคานิยามของคากริยาเรียงได้
ในความนา)

           3.2.2 หน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลี คือ หน่วยท่ีช่วยเสริมความหมายของกริยาที่
ทาหน้าที่เป็นหน่วยหลักของกริยาวลีให้สมบูรณ์ขึ้นหรือชัดเจนมากข้ึน หน่วยเสริมหน่วยหลักของ
กริยาวลีมีทั้งท่ีปรากฏอยู่หน้าและอยู่หลังคากริยาท่ีทาหน้าที่เป็นหน่วยหลัก (วิจินตน์ ภาณุพงศ์ และ
อนนั ต์ เหล่าเลศิ วรกลุ , 2561, น. 83)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44