Page 40 - ลักษณะภาษาไทย
P. 40
4-30 ลักษณะภาษาไทย
1) หน่วยเสริมหน่วยหลกั ท่ีปรากฏหน้าคากริยา ได้แก่ คาช่วยกริยาและคาปฏิเสธ
ตวั อยา่ งเช่น
จ. นา้ กาลงั ตดั กระดาษ
ฉ. คนดียอ่ มยอมรบั ความผดิ ของตัวเอง
ช. เขาถูกใส่รา้ ย
ซ. คณุ ยายไม่กนิ หมาก
ฌ. เด็กไม่เล่นเวลากลางคืน
จากตัวอย่าง จ. หน่วยหลักของกริยาวลีคือ ตัด มีหน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลี
เป็นคาช่วยกริยาคือ กาลัง จากตัวอย่าง ฉ. หน่วยหลักของกริยาวลีคือ ยอมรับ มีหน่วยเสริมหน่วยหลัก
ของกริยาวลีเป็นคาช่วยกริยาคือ ย่อม จากตัวอย่าง ช. หน่วยหลักของกริยาวลีคือ ใส่ร้าย มีหน่วยเสริม
หนว่ ยหลกั ของกริยาวลเี ปน็ คาช่วยกริยาคือ ถกู จากตวั อยา่ ง ซ. หนว่ ยหลกั ของกริยาวลคี อื กนิ และจาก
ตัวอย่าง ฌ. หน่วยหลักของกริยาวลีคือ เล่น ทั้งสองประโยคน้ีมีหน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลีเป็น
คาปฏิเสธคือ ไม่
2) หน่วยเสริมหน่วยหลกั ที่ปรากฏหลงั กริยา หน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลีที่
ปรากฏหลังกริยา ได้แก่ คานาม กลุ่มนาม นามวลี และอนุประโยคชนิดนามานุประโยค (ดูรายละเอียด
ของนามานุประโยคในเรือ่ งท่ี 4.2.2) ตวั อยา่ งเชน่
ญ. แมค่ า้ ขายขนม
ฎ. ครูสอนเขากับเพ่ือน
ฏ. เขาเปน็ ลกู ศิษยค์ นโปรด
ฐ. ครูดุนกั เรยี นทก่ี าลงั เล่นอยหู่ นา้ ห้องเรยี น
จากตวั อย่าง ญ. หน่วยหลักของกรยิ าวลคี ือ ขาย มหี นว่ ยเสรมิ หนว่ ยหลกั ของกริยาวลี
เป็นคานามคือ ขนม ทาหน้าท่ีเปน็ หน่วยกรรมตรงของประโยค จากตัวอย่าง ฎ. หน่วยหลักของกรยิ าวลี
คือ สอน มีหน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลีเป็นกลุ่มนามคือ เขากับเพื่อน ทาหน้าที่เป็นหน่วยกรรม-
ตรงของประโยค จากตัวอย่าง ฏ. หน่วยหลักของกริยาวลีคือ เป็น มีหน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลี
เปน็ นามวลีคอื ลกู ศษิ ยค์ นโปรด ทาหน้าทเ่ี ปน็ หน่วยเติมเตม็ ของประโยค และจากตวั อยา่ ง ฐ. หนว่ ยหลกั
ของกรยิ าวลคี ือ ดุ หน่วยเสริมหนว่ ยหลกั ของกรยิ าวลีเป็นนามานุประโยค คอื นักเรียนที่กาลงั เล่นอยู่หนา้
หอ้ งเรียน ทาหน้าทเ่ี ปน็ หน่วยกรรมตรงของประโยค
ตัวอย่าง ญ.-ฐ. ข้างต้นกริยาวลีมีหน่วยหลักเป็นคากริยาเพียงคาเดียว และจะเห็น
ได้ว่าหน่วยเสริมหน่วยหลักท่ีเป็นคานาม กลุ่มนาม นามวลี และนามานุประโยคจะลาดับอยู่หลังของ
กริยาวลี แต่ในกรณีท่ีหน่วยหลักของกริยาวลีเป็นคากริยาเรียง หน่วยเสริมหน่วยหลักจะลาดับไว้หลัง