Page 18 - ลักษณะภาษาไทย
P. 18

4-8 ลักษณะภาษาไทย

       หน่วยกรรม (object) คือ หน้าที่ของนามวลีเม่ือเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างประโยคหรือ
อนุประโยค โดยทาหน้าที่เป็นผู้รับหรือผู้ถูกกระทาของกริยาวลี มีตาแหน่งอยู่หลังกริยาวลี โดยท่ัวไป
หน่วยกรรมมักถูกจาแนกออกเปน็ 2 ประเภท คือ หน่วยกรรมตรง (direct object) และหน่วยกรรมรอง
(indirect object) เช่น แมใ่ ห้เงินแกน่ ้อง หนว่ ยกรรมตรงคอื เงนิ และหน่วยกรรมรองคอื น้อง

       หน่วยกริยา (verb) คือ หน้าที่ของกริยาวลีเม่ือเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างประโยคหรือ
อนุประโยค โดยทาหน้าท่ีเป็นหน่วยหลักของประโยคหรืออนุประโยค เป็นคาท่ีอ้างถึงการกระทา
เหตุการณ์ หรือสภาพ โดยทั่วไปหน่วยกริยามักถูกจาแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ หน่วยกริยาอกรรม
หน่วยกริยาสกรรม และหน่วยกริยาทวิกรรม หน่วยกริยาอกรรม คือ หน่วยกริยาท่ีไม่มีหน่วยกรรมตรง
ตามหลงั เชน่ ฉันงว่ ง หน่วยกรยิ าอกรรม คือ ง่วง หนว่ ยกริยาสกรรม คอื หนว่ ยกริยาที่มีหน่วยกรรมตรง
ตามหลัง เช่น ฉันกินข้าว หน่วยกริยาสกรรม คือ กิน และหน่วยกริยาทวิกรรม คือ หน่วยกริยาท่ีมีท้ัง
กรรมตรงและกรรมรองตามหลัง เช่น แม่ใหเ้ งินแก่น้อง หน่วยกริยาทวิกรรม คือ ให้

       หน่วยเตมิ เตม็ (complement) คือ หน่วยที่ทาหน้าท่ีช่วยให้ประโยคหรืออนุประโยคสมบูรณ์ แต่
ไม่ใช่กรรม หน่วยเติมเต็มเป็นส่ิงท่ีประโยคหรืออนุประโยคต้องมี มักตามหลังกริยา เช่น คาว่า เป็น
เหมือน คล้าย เท่า ใช่ มี เกิด ปรากฏ ฯลฯ เช่น นิดเป็นลูกสาวคนเดียว หน่วยเติมเต็ม คือ ลูกสาว-
คนเดยี ว

       หน่วยเสริมความ (adjunct) คือ หน่วยภาษาในโครงสร้างวลี อนุประโยค หรือประโยคท่ีไม่ใช่
หนว่ ยหลกั ทาหนา้ ท่ีเสรมิ หรอื ขยายความประโยคโดยรวม จะปรากฏหรอื ไมป่ รากฏกไ็ มไ่ ด้ทาใหใ้ จความ
หลักของวลี อนปุ ระโยคหรอื ประโยคผดิ ไป หน่วยเสริมความมกั แสดงความสมั พันธก์ ับหน่วยกรยิ าว่าเป็น
สถานทหี่ รอื เครือ่ งมือ หน่วยเสรมิ ความต่างจากหน่วยเติมเต็ม คือ หน่วยเตมิ เต็มเป็นสว่ นประกอบที่ต้อง
ปรากฏ แต่หน่วยเสริมความจะปรากฏหรอื ไม่ก็ได้ และอาจเปล่ียนตาแหน่งได้ เช่น ตอนเย็นเขาเดินเล่น
ในสวน หน่วยเสรมิ ความคอื ตอนเย็น และ ในสวน ซ่ึง ตอนเย็น อาจะเปลย่ี นตาแหนง่ ไดเ้ ปน็ เขาเดนิ เล่น
ในสวนตอนเย็น

       หน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลี คือ หน่วยท่ีช่วยเสริมความหมายของกริยาที่ทาหน้าที่เป็น
หลักหน่วยของกริยาวลีให้สมบูรณ์ข้ึนหรือชัดเจนขึ้น หน่วยเสริมหน่วยหลักของกริยาวลีสามารถปรากฏ
ไดท้ งั้ หน้าและหลงั สว่ นหลกั เชน่ อาวธุ ถูกทาลาย, เครือ่ งบินไม่ตรงเวลา คาว่า ถูก เป็นคาชว่ ยกรยิ า ส่วน
คาวา่ ไม่ เปน็ คาปฏเิ สธ ถือเป็นหนว่ ยเสรมิ หน่วยหลักท่ปี รากฏหน้าของกรยิ า คอื ทาลาย และ ตรงเวลา
ตามลาดับ ยายให้ที่ดิน คาว่า ที่ดิน ถือเป็นหน่วยเสริมหน่วยหลักท่ีปรากฏหลังกริยา คือ ให้ และ
ทาหน้าทเ่ี ปน็ กรรมตรงของประโยค (วจิ ินตน์ ภาณพุ งศ์ และอนนั ต์ เหลา่ เลศิ วรกลุ , 2561, น. 83-86)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23