Page 5 - ท้าวมหาชมพู
P. 5

คำนำ

	 หนังสือเร่ืองท้าวมหาชมพูนี้ เป็นพระสูตรนอกพระไตรปิฎก
มีความเช่ือกันว่าเรื่องท้าวมหาชมพูเป็นท่ีมาของพระพุทธรูปทรงเคร่ือง
ปางเม่ือพระพุทธเจ้าเนรมิตพระองค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิเพ่ือทรงทำอิทธิ
ปาฏหิ ารยิ ท์ รมานทา้ วชมพบู ดี โดยมเี นอื้ หากลา่ วถงึ กษตั รยิ พ์ ระองคห์ นงึ่
ทรงพระนามวา่ ชมพบู ดี เสวยราชย์ในเมอื งปญั จราษฐ์ ทา้ วชมพบู ดที รงเปน็
กษตั รยิ ผ์ มู้ ฤี ทธานภุ าพมาก ครง้ั หนง่ึ ได้ไปรกุ รานพระเจา้ พมิ พสิ ารดว้ ยความ
ริษยาว่ามีปราสาทท่ีงดงามและทรงใชว้ ิษศรไปรอ้ ยกรรณพระเจ้าพมิ พิสาร
แต่ไม่เป็นผล ด้วยมีบารมีสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงคุ้มครองอยู่
พระพทุ ธองค์ทรงพจิ ารณาว่า ทา้ วชมพบู ดเี ป็นผมู้ ปี ญั ญาบารมี อาจสำเรจ็
พระอรหนั ตผลได้ จงึ ได้ทรงแสดงปาฎิหารยิ ์ตา่ งๆ ทรมานท้าวชมพูบดีให้
ละทฐิ มิ านะ รบั ฟงั พระเทศนาและในทส่ี ดุ ทา้ วชมพบู ดไี ดอ้ อกบวชดว้ ยวธิ เี อหิ
ภกิ ขบุ รรพชา
	 การสร้างพระพุทธรูปทรงเคร่ืองนี้ แต่โบราณเช่ือกันว่ามี
อานสิ งสม์ าก เรอื่ งทา้ วมหาชมพจู งึ เปน็ เรอ่ื งทน่ี บั ถอื กนั สบื มาเนอื่ งจากเปน็
ต้นตำนานของพระพุทธรูปทรงเครื่อง อย่างไรก็ตาม การศึกษาค้นคว้า
เกย่ี วกบั พระสตู รหรอื คมั ภรี น์ อี้ ยใู่ นวงจำกดั ทงั้ นอ้ี าจเปน็ เพราะหาเอกสาร
หลกั ฐานทจ่ี ะใช้เชือ่ มโยงได้ยาก มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าชจึงได้นำ
มาจัดพิมพ์ขึ้น ด้วยเห็นเปน็ หนงั สอื ท่ีหาไดย้ าก ควรอนุรักษต์ น้ ฉบับนไ้ี ว้
โดยไดร้ บั ความกรณุ าจากศาสตราจารย์ ดร. นยิ ะดา เหลา่ สนุ ทร ราชบณั ฑติ
ด้านวรรณกรรม ไดม้ อบต้นฉบับเรอ่ื ง ท้าวมหาชมพู ฉบับพมิ พค์ รัง้ ที่ ๒
โดยหลวงภัณฑลักษณวิจารณ์ จัดพิมพ์ในการกุศลเม่ือปีระกา พ.ศ.
๒๔๖๔ และงานเขียนซึ่งได้ค้นคว้าเก่ียวกับวรรณกรรมเร่ืองนี้ไว้อย่าง
ละเอยี ด ดงั ปรากฏในบทนำของหนงั สอื เลม่ น้ี นอกจากนน้ั สำนกั โบราณคดี
กรมศิลปากร ยังอนุญาตให้นำสำเนาภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10