Page 16 - ศิริวิบุลกิตติ์
P. 16

(14)

อย่างใด นอกจากนั้น ได้มีการใช้คำว่า กลอนห้า คู่กับคำฉันท์อื่น ๆ อยู่
หลายเร่ือง จงึ ไมอ่ าจถือได้ว่าเป็นการเรม่ิ ต้นคำประพันธ์ประเภทกลอน

	 ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ได้เกิดคำประพันธ์ในลักษณะกลอน

ขน้ึ หลายเรอ่ื ง เชน่ บทละครเรอื่ งนางมโนหร์ า บทละครเรอื่ งสงั ขท์ อง เปน็ ตน้
และยังมีเพลงยาวพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศด้วย จะเห็นได้ว่าความ
นิยมเรื่องการเขียนกลอนเร่ิมข้ึนในสมัยนี้ หลวงศรีปรีชา (เซ่ง) จึงได้นำ
เรอื่ งราวจากชาดกมาเขยี นเปน็ นทิ านคำกลอน และเลอื กทจ่ี ะใชก้ ลอนกลบท
เพื่อให้แปลกแตกต่างออกไป ทั้งเป็นการสร้างลักษณะของกลบทไว้เป็น
แบบแผนตอ่ ไปด้วยเหตผุ ลต่าง ๆ นจ้ี ึงน่าเช่ือวา่ เรอ่ื งศิรวิ ิบลุ กติ ต์แิ ต่งขนึ้ ใน
สมัยพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ

	 เป็นที่น่าสังเกตว่า ปราชญ์กวีผู้ใหญ่ประจำราชสำนักมักจะเป็นโหรา
จารยด์ ว้ ย เชน่ พระโหราธบิ ดี พระศรีมโหสถ และหลวงศรีปรชี า (เซ่ง) นี้
แต่ละท่านไดแ้ ตง่ วรรณคดีไวม้ าก แต่ไมป่ รากฏวา่ หลวงศรปี รชี า (เซง่ ) ได้
แต่งวรรณคดีเรอื่ งอื่นไว้แตอ่ ย่างใด


ลักษณะของกลอนกลบทในศริ ิวบิ ลุ กิตติ
์

	 กลบท คือคำประพันธ์ร้อยกรองที่แต่งให้มีบทบัญญัติบังคับพิเศษ
นอกเหนือไปจากข้อบังคับพ้ืนฐาน เพ่ือให้ผู้แต่งได้ใช้ชั้นเชิงการประพันธ์

ยงิ่ กวา่ ธรรมดา อาจดว้ ยความเบอ่ื ในรปู แบบเกา่ ๆ หรอื ตอ้ งการทำใหแ้ ปลกไป
จากผู้อ่ืน หรือเป็นการสร้างคุณลักษณะพิเศษให้แก่ตนเองโดยสร้างกฎ
เกณฑ์ทย่ี ากขนึ้ ก็ได้ 


                                                                 มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21