Page 109 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 109

เบญญศิกานต กาญจนาธนเสฎฐ

เขา เขตพื้นทจี่ งั หวดั ชมุ พรแลว ผา นอำเภอหลงั สวนตอนเขา ชมุ พร แมด ใี จจนออกนอก
หนา เพราะมองแลว สดชน่ื ทิวมะพรา วเตม็ แนน ไปหมด พื้นทปี่ ลกู มะพรา วของชมุ พร
กระจายทั่วไป จัดเปนพืชเศรษฐกิจประเภทหนึ่งของจังหวัดทีเดียว

               ปกติการเก็บมะพราวในชุมพรสามารถใชตาขอเกี่ยวลูกมะพราว
      บิดจนขาดจากขั้วแลวกระตุก แตวิธีนี้ใชไมไดกับมะพราวที่มีลำตนสูง

       เนื่องจากระยะไกลเกินและไมสอยมีความยาวไมพอ การฝกลิงเพื่อชวย
              เก็บมะพราวจึงเปนวิธีที่นำมาใชแพรหลายเชนเดียวกับเกาะสมุย
                 ทเี่ ราเพิง่ เจอ ความชา งสงั เกตและประสบการณส ามารถใชเ ปน
                  ขอ มลู ทสี่ มบรู ณใ นการสรรคส รา งภมู ปิ ญ ญา ชาวบา นจะเลอื ก
                  เฉพาะลิงหนุมอายุรวม ๒ ป รูปรางลักษณะดี ลำตัวรปู ทรง
                 กระบอก หางใหญ ทาทางคลายคน โดยสังเกตลักษณะคาง
                ทานั่งและกริยาอื่นๆ ซึ่งจะเปนลิงที่หัดงาย เรียนรูเร็ว เทคนิค
                  การฝกลิง เปนภูมิปญญาไทยที่นายกยองในความพยายาม
                    ลองถกู ลองผิด จนไดผลสรุป
                              เมื่อเขาคัดลิงไดแลว ตอง
                      เลี้ยง ให เชื่อง กับ ผู ฝกสอน และ มี
               ความ คุน เคย กับ ปลอกคอ ที่ ทำ ดวย เชือก
               ชวงเวลา ๑ - ๒ เดือนแรก เขาจะลามโซ

ตลอดทั้งวันทั้งคืนและผกู ตอกับสายบังคับทพี่ รอมฝกอุปกรณ
ประกอบการฝกลิง เชน ตนมะพราวจำลองที่มีลกู มะพราว
แขวนระยะพอดีกับแขนลิง เพื่อใหลิงยืนปนลกู มะพราว
ได ในการฝกนั้น คนฝกจะยืนติดกับหลักที่มีการ
เจาะรูขนาดพอดีกับปลอกคอของลิง ซึ่งสามารถ
ดึงใหปลอกคอยึดติดกับรูที่เสาได เพ่ือปองกัน
ลิงดิ้นจนหลุดหนี ผูฝกสอนจะจับมือลิงใหปน
ลกู มะพรา วจนรว งใหได ขณะฝก หดั ตอ งใช “คำส่งั ”

                      ๑๐๑
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114